Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล สารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง,…
บทที่7การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล
สารน้ำ เกลือแร่ และกรด-ด่าง
สารน้ำ (fluid)
น้ำและสารประกอบ ที่ละลายอยู่ในน้ำ ได้แก่ อิเลคโทรลัยท์ ทั้งประจุบวกและลบ รวมถึงโปรตีน กลูโคลและไขมัน
หน้าที่ของสารน้ำในร่างกาย
1.ช่วยในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
2.หล่อลื่นข้อและป้องกันอวัยวะภายใน
3.ป้องกันภาวะท้องผูก และช่วยขับของเสียผ่านทางไต
น้ำในร่างกาย
1.น้ำภายนอกเซลล์ มีประมาณ 40 % ได้แก่ น้ำที่
อยู่ในช่องว่างระหว่าง เซลล์ในหลอดเลือด ในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
2.น้ำภายในเซลล์มีประมาณ 60%ในร่างกายของเรามีน้ำเป็นองค์ประกอบประมาณ 60%ของน้ำหนักตัว
กลไกปกติของสมดุลน้ำ
กลไกการระเหยของน้ำ เป็นกลไกการควบคุมของสมองใหญ่ (Cerebrum)เมื่อร่างกายสูญเสียน้ำ ร้อยละ 1-2 ของน้ำในร่างกายทั้งหมด
การควบคุมโดยฮอร์โมน
Aldosterone เป็นฮอร์โมนที่ท้าหน้าที่ ร่วมกับ ADHเพื่อควบคุมน้ำในร่างกาย aldosterone ถูกหลั่งจากAdrenalcortex จะหลั่งเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาตรของพลาสมาลดลง
ADH ถูกสร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหลังเมื่อมีการกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำก็จะมีการกระตุ้นการหลั่ง ADH
การประเมินสมดุลของเหลว
การซักประวัติ ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจร่างกาย
ต้องดูว่าผู้ป่วยมีโรคหรืออาการ
บาดเจ็บที่ส่งผลต่อสมดุล
ของเหลวหรือไม่ เช่น การเป็นโรคตับ
การสังเกตและการประเมิน
สีหน้า การขาดน้ำอย่างรุนแรงจะส่งผลท้าให้ตาลึกโหล
สัญญาณชีพ มีอุณหภูมิกายขึ้นสูง ชีพจรเต้นเร็วหายใจเร็วลึก ความดันโลหิตลดต่ำลง
ปริมาณปัสสาวะและความเข้มข้น
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ
1.ความผิดปกติของ ส่วนประกอบหรือปริมาตรของสารน้ำ
2.ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการไหลเวียน
การเสียสมดุลปริมาตรและความ
เข้มข้น เช่น ภาวะขาดน้ำ ภาวะบวม
ภาวะเสียสมดุลอิเลคโทรลัยท์
เช่น การเสียสมดุล Na - K
การเสียสมดุลของภาวะ กรด - ด่าง
ภาวะขาดน้ำ
ภาวะที่มีปริมาณน้ำในร่างกายน้อยกว่าปกติ มีความผิดปกติของโซเดียม ECF น้อยกว่าปกติ น้ำน้อย
กว่าตัวถูกละลายเกิดภาวะ hyperosmolar
สาเหตุ แบ่งออกเป็น
primary dehydration
จะเกิดจากการได้รับไม่พอ ไม่ว่าจะเกิด
จากการดื่มเองไม่ได้หรือไม่มีน้ำดื่ม
secondary dehydration
เกิดจากการเสียน้ำที่มีการเสียอิเลค
โทรลัยท์ด้วย โดยเฉพาะการสูญเสียโซเดียม
อาการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อวินิจัยทางการพยาบาล
มี/เสี่ยงต่อภาวะขาดน้ำได้รับน้ำไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากท้องร่วง
การพยาบาล
ประเมินระดับความรุนแรงของสภาวะการขาดน้ำ
BUN, Cr, Alb เพิ่มขึ้น
ไม่มีแรง ผิวหนังแห้ง คอแห้ง ไม่มีน้ำลาย ริมฝีปากแห้งน้ำหนักลด
ภาวะน้ำเกิน
ภาวะที่มีน้ำในร่างกายมากกว่า 60%
ของน้ำหนักตัว ECF มากกว่าปกติ จะมีอาการบวม
สาเหตุ
มีการอุดกันของทางเดินปัสสาวะ
อาการ
จะมีอาการหอบ หายใจลำบาก ไอมาก
บวมตามปลายมือปลายเท้า
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มี/เสี่ยงต่อภาวะน้ำเกินเนื่องจากไตวายเรื้อรัง/โปรตีนใน
เลือดต่ำ/ไตสูญเสียหน้าที่
การพยาบาล
ประเมินความรู้สึกตัว อาการบวม ภาวะน้ำเกิน
ดูแลจำกัดน้ำและเกลือ
การได้รับเกลือแร่เเละน้ำ เกินไป
ภาวะบวม
สาเหตุ
แรงดันเพิ่มเลือดคั่งในผู้ป่วย CHF
ภาวะ Alb ในเลือดต่ำ
อาการ
มีอาการบวม ผิวหนังอุ่น ชื่น แดง
ชีพจรแรง หายใจลำบาก หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
พบ Na ในปัสสาวะ
บวมกดบุ๋ม, หลอดเลือดที่คอโป่ง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะน้ำกินเนื่องจากไตวายเรื้อรัง/ไตสูญเสียหน้าที่
การพยาบาล
ประเมินระดับความรู้สึกตัว
ประเมินอาการบวม สังเกตอาการของภาวะน้ำเกิน
จ้ากัดน้ำดื่ม จ้ากัดอาหารเค็ม
โซเดียม
hyponatremia
สาเหตุ
ร่างกายได้รับ Na จากอาหารน้อยไป มีการดูดซึมไม่ดี
อาการ
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน หงุดหงิด บุคลิกเปลี่ยนแปลง สับสน
การวินิจฉัย
ระดับของ Na < 135 mEq/L
BUN สูง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดแผลในปากเนื่องจากเยื่อบุปากแห้ง
หลักการพยาบาล
ให้โซเดียมทดแทนและป้องกันภาวะ shock
hypernatremia
สาเหตุ
ได้รับเกลือเพิ่มขึ้นเช่น ได้รับสารน้ำ
ทางหลอดเลือดด้า
อาการทั่วไป
มีไข้ต่ำๆกระหายน้ำ
การวินิจฉัย
Na > 145 mEq/L
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
เนื่องจากมีแผลในปาก ลิ้น
การพยาบาล
ดูแลให้สารน้ำทดแทน
โปเเตสเซียม
hypokalemia
สาเหตุ การที่มีการขนส่ง K เข้าเซลล์
มากเกินไป เช่น
ภาวะที่มีระดับของ insulin เพิ่มสูงขึ้น
อาการ กล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ถ้าเป็นมากจะเป็นอัมพาต
แก้ไขสาเหตุ พยายามให้อาหาร
ที่มีปริมาณของ K มากพอ เช่น
ผักใบเขียว มะเขือเทศ แครอท มัน
ฝรั่ง กล้วย ส้ม แตงโม นม
ข้อวินิจฉัย. เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
เนื่องจากโปแตสเซียมในเลือดต่ำ
การพยาบาลสังเกตอาการอ่อนเพลีย ใจสั่น คลื่นไส้อาเจียน
hyperkalemia
สาเหตุ ได้รับโปแตสเซียมมากไป ได้เลือดเก่าใกล้
หมดอายุ
อาการ มีการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติอย่างรุนแรง
การตรวจทางห้องปฏิบัติEKG พบ T wave สูง และแคบ QT interval สั้น
ข้อวินิจฉัย เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเนื่องจาก
โปแตสเซียมในเลือดสูง
การพยาบาล การให้ยาขับปัสสาวะ
แคลเซียม
hypercalcemia
อาการ คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก แน่นท้อง ล้าไส้ไม่เคลื่อนไหว
ข้อวินิจัยภาวะแคลเซียมในเลือดสูงเนื่องจากเคลื่อนไหวไม่ได้และเป็น
มะเร็งกระดูก
การพยาบาล ประเมินการ
เปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
hypocalcemia
อาการ. จะมีการชา ตามนิ้วมือนิ้วเท้า มือจีบ
ข้อวินิจัย. เสี่ยงต่อกระดูกหักเนื่องจากภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ/สภาพ
ร่างกาย/และพฤติกรรมสุขภาพ
การพยาบาล ประเมินภาวะ
มือจีบ Trousseau’s sign
แมกนีเซียม
hypomagnesemia
สาเหตุ การที่ได้รับสารอาหารที่มีMg น้อยไปหรือมีการสูญเสีย Mg ทางไตมากเกิน
อาการ หัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ ความดันโลหิตสูง
ข้อวิวิจัย มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเนื่องจากระดับแมกนีเซียมต่ำ
กการพยาบาล. อาหารทะเล ธัญพืช
และจมูกข้าวสาลี และอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามินดีสูง
hypermagnesemia)
สาเหตุ การที่ไตทำงานไม่มีประสิทธิภาพ
อาการ. มีการกดการท้างานของระบบประสาท ทำให้
เกิดอาการทางระบบประสาทง่วงซึม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล. มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเนื่องจากระดับแมกนีเซียมสูง
การพยาบาล ประเมินอาการทางระบบประสาท
Phosphorus
hypophatemia
สาเหตุ การได้รับ
อาหารไม่เพียงพอ
กับความต้องการ
ของร่างกาย
อาการ. อ่อนเพลีย อิดโรย
สับสน ชัก และไม่รู้สึกตัว
การรักษา นมวัว
เครื่องในสัตว์ สมอง ตับ
hyperphosphatemia
สาเหตุ ไตขับฟอสเฟตออกจากร่างกายทางปัสสาวะลดลง
อาการ. เกิดการตกตะกอนของแคลเซียมฟอสเฟตที่ผิวหนังและหลอดเลือด
ส่วนปลาย
การรักษา ให้กลุโคสและอินซูลิน เพื่อเพิ่ม
การเคลื่อนย้ายฟอสเฟตเข้าสู่เซลล์
นางสาวณัฐธยาน์ บุญศรี UDA6280003