Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Anaphylaxis, นางสาว ณัฐวรรณ มูลสา เลขที่55 ห้องA
รหัสนักศึกษา623020110564…
Anaphylaxis
อาการและอาการแสดง
-
ระบบหัวใจและหลอดเลือด หลอดเลือดขยาย ความดันโลหิตต่ำ มีภาวะช็อค มีการสูญเสียสารน้ำออกนอกหลอดเลือด เกิดอาการบวมได้ อีกทั้งอาจเกิดการหดเกร็งของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ มีอาการ หัวใจเต้นผิดจังหวะจนอาจเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นได้
-
-
ระดับความรุนแรง
-
ระดับที่ 2 มีอาการที่อวัยวะหลายระบบ คือ ทางผิวหนังร่วมกับระบบอื่นเช่น ความดันโลหิตต่ำหัวใจเต้นผิดจังหวะ หายใจหอบเหนื่อย มีอาการทาง ระบบทางเดินอาหาร
ระดับที่ 3 มีอาการระดับที่เสี่ยงจนถึงชีวิตได้ เช่น ความดันโลหิตตกรุนแรง หัวใจเต้นผิดจังหวะ รุนแรง หลอดลมตีบ
-
การรักษา Anaphylaxis
- Epinephrine (Adrenaline) โดยใชความเขมขน 1:1,000 ใหโดยฉีดเข้ากล้ามเนื้อขนาดสูงสุดคือ 0.5 ml ในผู้ใหญ่ และ 0.3 ml ในเด็ก ตัวยามีฤทธิ์ในการคงความดัน การบีบตัวของผนังหลอดเลือด การคลายตัวของกล้ามเนื้อหลอดลม
- Antihistamine ได้แก่ Diphenhydramine และ Cimetidine ใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการปานกลางถึงอาการรุนแรง บริหารยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
- Corticosteroid ในภาวะ Anaphylaxis รุนแรง
- กรณีผู้ป่วยมีความดันโลหิตต่ำให้ยาเพิ่มความดันโลหิตเช่น levophed
ดูแลให้ออกซิเจนกับผู้ป่วยที่มีปัญหาทางระบบทางเดินหายใจ เช่น หายใจเร็วหายใจลําบาก อาการหอบเหนื่อย หายใจมีเสียง wheeze หรือผู้ป่วยที่มีอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน ในรายที่รุนแรงมากอาจพิจารณาใส่เครื่องช่วยหายใจ ในรายที่ไม่สามารถใส่ท่อช่วยหายใจ เช่น Laryngeal Edema อาจพิจารณาทํา EmergencyTracheostomy
-
สาเหตุ
ปฏิกิริยาภูมิแพ้รุนแรงชนิด Anaphylaxis จะหมายถึงปฏิกิริยาภูมิไวเกินที่ออกฤทธิ์ผ่าน การทำงานของอิมมูโนโกลบูลินชนิด E (IgE) เท่านั้น
ปฏิกิริยาภูมิแพ้รุนแรงชนิดนี้จัดเป็นปฏิกิริยา ภูมิไวเกินชนิดที่ 1 ซึ่งเกิดจากการสัมผัสสารที่กระตุ้น ให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้จากภายนอกร่างกายซึ่งจะ กระตุ้นให้มีการสร้าง IgE ที่เฉพาะเจาะจงกับสารนั้น ขึ้นในร่างกาย IgE ที่สร้างขึ้นมานี้จะไปจับกับ mast cells และเม็ดเลือดขาวชนิด basophils ต่อมาเมื่อมีการสัมผัสกับสารนั้นอีกครั้งสารนั้นจะ ไปจับกับ IgE ที่เฉพาะเจาะจงที่อยู่บน mast cells และ basophils ทำให้มีการปล่อยสาร histamine, tryptase, carboxypeptidase A และ proteoglycan สารเหล่านี้ จะไปกระตุ้นให้มีการสร้างสารที่ก่อให้เกิดอาการ อักเสบของร่างกายคือ arachidonic acid metabolite, platelet activating factor และ cytokine ต่างๆ
การรักษาภาวะภูมิแพ้
- ถ้าแพ้สารใดต้องหลีกเลี่ยงการสัมผัสสารนั้นถ้าเลี่ยงไม่ได้เช่นในผู้แพ้ฝุ่น
- มีการรักษาโดยการฉีดสารที่แพ้เข้าไปกระตุ้นทีละน้อยเรียกว่าวิธี desensitization วิธีการนี้จะ กระตุ้นให้เกิดแอนติบอดีชนิด IgG ต่อ allergen นั้นขึ้นมาเมื่อสัมผัสกับ allergen อีก IgG จะแย่งจับ allergen ก่อน IgE ท าให้อาการแพ้ลดลงได
-