Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด ทฤษฏี และหลักการพยาบาลเด็กเเละวัยรุ่นในภาวะปกติและเจ็บป่วย - Coggle…
แนวคิด ทฤษฏี และหลักการพยาบาลเด็กเเละวัยรุ่นในภาวะปกติและเจ็บป่วย
เด็ก
หมายถึง บุคคลตั้งแต่เกิด ถึง 15 ปี
แบ่งตามพัฒนาการ
Newborn แรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Infant >28 - 1 ปี
Toddler วัยเดิน 1-3 ปี
School age วัยเรียน 6-12 ปี
Preschool ก่อนเรียน 3-5 ปี
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
สิทธิเด็ก
วันที่ 20 พฤศจิกายน ทุกปี = วันสิทธิเด็กไทยลงนามวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2535
4 ด้าน
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
สิทธิในด้านพัฒนาการ
สิทธิในการมีชีวิต
สิทธิในการมีส่วนร่วม
ทฤษฏี
ทฤษฎีวิเคราะห์ของฟรอยด์
Anal Stage 1-2 ปี
ลิบิโดไปกระตุ้นที่ทวารหนัก การกัก และการปล่อยอุจจาระจึงเป็นการลดภาวะเครียดของเด็ก
Latency Stage 6-12 ปี
ขั้นนี้ถือได้ว่าเป็นการพัก พฤติกรรมทางเพศเป็นไปอย่างสะเปะสะปะไม่อยู่ที่บริเวณใดบริเวณหนึ่งโดยเฉพาะจึงไม่มีภาวะติดค้าง
oral stage 0-1 ปี
ลิบิโดไปกระตุ้นบริเวณปาก การดูดจึงเป็นการลดภาวะเครียดของเด็ก
Phallic Stage 3-5 ปี
ลิบิโดไปกระตุ้นบริเวณอวัยวะเพศ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากเด็กเริ่มสนใจความแตกต่างระหว่างเพศ จึงทำให้ชอบจับต้องอวัยวะเพศเล่น เป็นการลดภาวะเครียด
Genital Stage 13-15 ปี
เป็นช่วงวัยรุ่น ลิบิโดจะไปกระตุ้นบริเวณอวัยวะเพศ และเป็นไปอย่างมี “วุฒิภาวะทางเพศ” กล่าวคือ พร้อมต่อการสืบพันธุ์ การลดภาวะเครียดจึงเป็นการบำบัดความใคร่ด้วยตนเอง (Masturbation)
ทฤษฎีการเรียนรู้พัฒนาการเชาวน์ปัญญาพีอาเจต์
Sensori-Motor Stage
เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่ เช่น การไขว่คว้า การเคลื่อนไหว การมอง การดู เป็นต้น
Preoperational Stage
เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น
ขั้นก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought) เด็กเริ่มมีเหตุผลเบื้องต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผล เกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจำกัดอยู่
ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งรู้ นึกออกเองโดยไม่ใช้เหตุผล (Intuitive Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รวมตัวดีขึ้น รู้จักแยกประเภทและแยกชิ้นส่วนของ
Concrete Operation Stage
เริ่มจากอายุ 7-11 ปี พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้สามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้ เด็กวัยนี้สามารถที่จะเข้าใจเหตุผล รู้จักการแก้ปัญหาสิ่งต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมได้
Formal Operational Stage
เริ่มจากอายุ 11-15 ปี ในขั้นนี้พัฒนาการทางสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้เป็นขั้นสุดยอด คือเด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดแบบผู้ใหญ่ ความคิดแบบเด็กจะสิ้นสุดลง เด็กจะสามารถที่จะคิดหาเหตุผลนอกเหนือไปจากข้อมูลที่มีอยู่ สามารถที่จะคิดแบบนักวิทยาศาสตร์ สามารถที่จะตั้งสมมุติฐานและทฤษฎี
Mental combinatoins
อายุเริ่มตั้งแต่ 18-24 เดือน ขั้นพัฒนาการโครงสร้างทางสติปัญญาเบื้องต้น
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
Pre - Conventional Level
อายุ 4-7 ปี ระดับนี้เด็กจะรับกฎเกณฑ์และข้อกำหนดของพฤติกรรมที่ “ดี” “ไม่ดี” จากผู้มีอำนาจเหนือตน
Conventional Level
อายุ 7-11 ปี ผู้ทำถือว่าการประพฤติตนตามความคาดหวังของผู้ปกครอง บิดามารดา กลุ่มที่ตนเป็นสมาชิกหรือของชาติ เป็นสิ่งที่ควรจะทำหรือทำความผิด เพราะกลัวว่าตนจะไม่เป็นที่ยอมรับของผู้อื่น
Post - Conventional Level
อายุ 12 ขึ้นไป ผู้ทำหรือผู้แสดงพฤติกรรมจะตีความหมายของหลักการและมาตรฐานทางจริยธรรมด้วยวิจารณญาณ ก่อนที่จะยึดถือเป็นหลักของความประพฤติที่จะปฏิบัติตาม การตัดสินใจ “ถูก” “ผิด” “ไม่ควร” มาจากวิจารณญาณของตนเอง
ทฤษฎีขั้นพัฒนาการทางจิตสังคม
ความไว้วางใจ – ความไม่ไว้วางใจ
แรกเกิด - 1 ปี เป็นรากฐานที่สำคัญของพัฒนาการในวัยต่อไป เด็กวัยทารกจำเป็นจะต้องมีผู้เลี้ยงดูเพราะช่วยตนเองไม่ได้ ผู้เลี้ยงดูจะต้องเอาใจใส่เด็ก
ความเป็นตัวของตัวเองอย่างอิสระ – ความสงสัยไม่แน่ใจตัวเอง
อายุ 2 ปี วัยนี้เป็นวัยที่เริ่มเดินได้ สามารถที่จะพูดได้และความเจริญเติบโตของร่ายการช่วยให้เด็กมีความอิสระ พึ่งตัวเองได้ และมีความอยากรู้อยากเห็น อยากจับต้องสิ่งของต่างๆ เพื่อต้องการสำรวจว่าคืออะไร เด็กเริ่มที่อยากเป็นอิสระ เป็นตัวของตัวเอง
การเป็นผู้คิดริเริ่ม – การรู้สึกผิด
อายุประมาณ 3-5 ปี เป็นวัยที่เด็กมีความคิดริเริ่มอยากจะทำอะไรด้วยตนเอง จากจินตนาการของตนเอง
ความต้องการที่จะทำกิจกรรมอยู่เสมอ – ความรู้สึกด้อย
อายุประมาณ 6-11 ปี เนื่องจากเด็กวัยนี้มีพัฒนาการด้านสติปัญญาและทางด้านร่างกาย อยู่ในขั้นที่มีความต้องการที่จะอะไรอยู่เมือไม่เคยว่าง
อัตภาพหรือการรู้จักว่าตนเองเป็นเอกลักษณ์ – การไม่รู้จักตนเองหรือสับสนในบทบาทในสังคม
อายุระหว่าง 12-17 ปี จะรู้สึกตนเองว่า มีความเจริญเติบโต โดยเฉพาะทางด้านร่างกายเหมือนกับผู้ใหญ่ทุกอย่าง ร่างกายเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีการเปลี่ยนแปลงทางเพศทั้งหญิงและชาย เด็กวัยรุ่นจะมีความรู้สึกในเรื่องเพศและบางคนเป็นกังวลต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
อ้างอิง
นายสุธน ภักดี,นางสาวกนกวรรณ ไชยมงคล,นางสาวฐาปนี อินทร์จันทร์,นายสกรรจ์ บูรณอารีย์พงษ์,นายสุทธิพงษ์ มั่นคง,นางสาวพิมพ์มาศ เพ็ชรุพันธ์,นางสาวถกลรัตน์ ทองเล็ก. [ออนไลน์]. Development-Theory. เข้าถึงได้จาก (
https://sites.google.com/a/srp.ac.th/development-theory/home
) สือบค้นวันที่ 27/01/2021
ระยะของการเจ็บป่วย
Acute
เกิดขึ้นทันทีทันใด
Chronic
รักษาไม่หายขาด อยู่กับเราไปตลอดต้องรักษาบ่อยๆ
Crisis
คุกคามชีวิต อาจทำให้เสียชีวิตได้
Death/Dying
เป็นระยะที่วินิฉัยว่าป่วยถึงขั้นสุดท้ายแล้ว อาจอยู่ได้ไม่ถึง 6 เดือนหรือน้อยกว่านั้น
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
ประเภท 0 ตอบแบบไม่เข้าใจ
ระดับความคิดความเข้าใจก่อนขั้นปฏิกิริยา(อายุ 18 เดือน – 7 ปี)
ประเภท 1 ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภท 2 สาเหตูสัมพันธ์กับวัตถุหรือคนที่อยู่ใกล้ๆ
ระดับความคิดความเข้าใจในขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม(อายุ 7-11 ปี)
ประเภทที่ 3 : การปนเปื้อน
ประเภทที่ 4 : ภายในร่างกาย
ระดับปฏิบัติการด้วยนามธรรม(อายุ 11-12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่ )
ประเภทที่ 5 เกิดจากอวัยวะในร่างกายทำงานไม่ดี/ไม่ทำงาน
ประเภทที่ 6 เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาขึ้นสูงสุด
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย
วัยแรกเกิดและวัยทารก
อายุ< 6 เดือน ไม่เข้าใจความหมาย
อายุ >6 เดือนผูกพันกับผู้เลี้ยงดู รู้สึกแยกจาก
มีปฏิกิริยาด้วยการตอบสนองของ physiological reflex
เพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
เชื่องโยงกับคนรอบข้างด้วย เสียง กลิ่น สัมผัส จะร้องเมื่อไม่สุขสบาย
ถ้าอยู่ในระยะสุดท้ายควรดูแลให้ผ่านช่วงเวลาของความตายโดยไม่ทรมาณ
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
คิดว่าตายแล้วกลับคืนมาได้ (Reversible)
ตาย = นอนหลับ ทำกลัวต่อการนอน ควรพัฒนาความเข้าใจอย่างค่อยเป็นค่อยไป
เด็กบางคนอาจเข้าใจความตายจากการตายของสัตว์หรือผู้ใหญ่
วัยเรียน
เข้าใจตัวเอง เข้าใจวามตายได้ชัดขึ้น
สามารถเข้าใจว่าตนเองอาจตายได้ในวันหนึ่ง
เข้าใจโรค การวินิจฉัย การพยากรณ์โรค
กลัวการสูญเสียตนเองและคนที่รัก
วัยรุ่น
เป็นตัวของตัวเองมากขึ้น ไม่ต้องการการบังคับ
มองความตายเป็นเรื่องไกลตัว ยอมรับการตายไม่ได้
ไม่ต้องการความช่วยเหลือจากพ่อแม่หรือผู้ดูแล แม้ว่าต้องการ
พ่อแม่หรือผู้ดูแล ควรให้ความรักและความอบอุ่น เอาใจใส่ ตอบสนองความต้องการ โดยเฉพาะช่วงสุดท้ายของชีวิต จะทำให้เด็กยอมรับและไม่เสียศักดิ์ศรี
ผลกระทบของความเจ็บป่วยแต่ละวัย
ทารก
รู้สึกไม่สุขสบาย
กินได้น้อยลง เจ็บปวดและอาจทำให้พิการ
กระทบความผูกพันธ์ระหว่างแม่กับทารก เด็กต้องอยู่โรงพยาบาล ไม่มีโอกาสเลี้ยงดู
ขาดการกระตุ้นประสาทสัมผัสจากแม่
วัยเดิน
อิสระ อยากรุ้อยากเห็น ไม่เคยแยกจากพ่อแม่
การป่วยทำให้ต้องพรากจากพ่อแม่อาจทำให้เด็กคิดว่าถูกทอดทิ้ง
เมื่อเจ็บป่วยพ่อเเม่อาจดูแลมากเกินไป พึ่งแต่พ่อแม่ อาจทำให้หวาดกลัวและไม่สามารถทำอะไรได้เอง
วัยก่อนเรียน
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มุ่งหวังประสพความสำเร็จ
เมื่อป่วยบ่อยทำให้ยากต่อการเรียนรู้
อาจคิดว่าการอยู่โรงพยาบาลคือการลงโทษ เพราะตนเองทำ/คิดในสิ่งที่ไม่ดี
วัยเรียน
มุ่งมั่นต่อผลสำเร็จ มีสังคมนอกบ้าน
เด้กที่ป่วยบ่อย ทำให้หย่อนเรื่องการเรียน กีฬา ทำอะไรได้ไม่เต็มที่เท่าเพื่อน
รุ้สึกสูญเสียความนับถือในตนเอง มีปมด้อย ถูกปฏิเสธจากเพื่อน ขาดเรียนบ่อยอาจซ้ำชั้น
วัยรุ่น
ค้นหาอัตลักษณ์ของตนเอง อิสระ
ป่วยบ่อย ทำให้กระทบต่อความเชื่อมั่นในตนเอง ภาพลักษณ์ บุคลลิกภาพ
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
องค์ประกอบสำคัญ
การตระหนักและการเคารพ (Respect)
การร่วมมือ (Collaboration)
การสนับสนุน (Support)
หลักการ
เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก ในขณะที่
บุคลากรด้านสุขภาพและระบบบริการสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลง ให้ความสำคัญกับการตัดสินใจของครอบครัว และสนับสนุนครอบครัวในการดูแลเด็ก
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพในทุก
ระดับของการบริการดูแลสุขภาพทั้งที่โรงพยาบาล บ้าน และชุมชน สื่อสารดี ทำความเข้าบทบาท วางแผนการรักษาร่วมกัน
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารจำเป็นและสมบูรณ์ แก่พ่อแม่อย่างต่อเนื่อง ไม่ลำเอียง ท่าทีเหมาะสมในลักษณะของการสนับสนุน
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ ของ บุคคลและ
ครอบครัวเข้าในระบบบริการสุขภาพ
ลงมือปฏิบัติสนับสนุนและช่วยเหลือรอบครัวที่มีปัญหาด้านอารมณ์และเศรษฐกิจ เช่น ส่งปรึกษาสังคมสงเคราะห์
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดอ่อนและจุดเเข็ง รวมทั้งเคารพวิธีการเผชิญปัญหาที่ต่างกัน โดยการประเมินจุดเเข็ง เปิดใจรับฟัง และเสริมสร้างพลังอำนาจของครอบครัว
เคารพยอมรับความหลากหลายของเชื้อชาติวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ สังคม เศรษฐกิจ ครอบครัว
กระตุ้นและสนับสนุนให้เครือข่ายผู้ปกครอง ให้ความสำคัญในการช่วยเหลือ สนับสนุนความร่วมมือระหว่างแพทย์และเครือข่ายผู้ปกครอง
จัดบริการที่ยืดหยุ่น เข้าถึงง่าย สนองความต้องการครอบครัว จัดหาทางเลือกในการรักษาให้พ่อแม่ สนับสนุน/กระตุ้นให้เกิดการดุแลแบบสหสาขา
ปฏิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
Separation anxiety
สิ้นหวัง(despair)
แยกตัวอยู่เงียบๆ ร้องไห้น้อยลง มีพฤติกรรมถดถอย อาจจะดงผม ข่วนหน้า แต่ยอมให้ความร่วมมือในการรักษา ต้อต้านเล็กน้อย เมื่อพบแม่จะร้องไห้รุนเเรง
ปฏิเสธ(denial)
สนใจสิ่งเเวดล้อมมากขึ้น เหมือนปรับตัวได้ จะสร้างสัมพันธภาพอย่างผิวเผินกับเจ้าหน้าที่ เลี่ยงที่จะใกล้ชิดและไว้วางใจใคร
ร้องประท้วง(protest)
ร้องไห้รุนแรง ร้องตลอดเวลา ต้องการให้แม่อยู่ด้วยเสมอ เมื่อไม่มีแม่เด็กจะไม่ให้ความร่วมมือในการรักษา
การพยาบาลด้านจิตสังคม
ป้องกันและลดปัญหาจากการแยกจาก โดยให้พ่อเเม่บอกเหตูผลแก่ลูก
ลดผลกระทบจาการสูญเสียการควบคุม ส่งเสริมให้มีการเคลื่อนไหวอย่างอิสระ ให้เ้ขาใจเกี่ยวกับการเจ็บป่วย มีส่วนร่มในการตัดสินใจ
เตรียมเด็กก่อนการรักษา
ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยและจัดกิจกรรมการเล่นที่เหมาะสม
ความเจ็บป่วยและภาพลักษณ์
ภาพลักษณ์
การรับรู้ของบุคคลต่อ รูปร่าง บุคลิก ลักษณะ การทำหน่าที่ของร่างกาย สัมผัส การเคลื่อนไหว ความรู้สึกนึกคิด
อัตมโนทัศน์(self concept)
ผลรวมความรู้สึก ความคิด การรับรู้ตนเอง เกิดการเรียนรู้และปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม กลายเป็นเอกลักษณ์ของตน เลียนแบบ self exteem
ผลกระทบ
กลัว
โศกเศร้า
อับอาย
แตกต่างจากปกติและต่างจากผู้อื่น
หมดคุณค่า
ซึมเศร้า
การพยาบาล
ประเมินทัศนคติและการรับรู้เกี่ยวกับภาพลักษณ์ตนเองหรือสังเกตพฤติกรรมเช่น พูดน้อยลง แยกตัว
ค้นหนาสาเหตุหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ส่งเสริมการปรับตัว
ค้นหาวธีปรับตัว
อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลง
สร้างความรุ้สึกมีคุณค่า
จัดกลุ่มส่งเสริมการปรับตัวในผู้ป่วยลักษณะคล้ายกัน
การส่งเสริม สนันบสนุน ของครอบครัว เพื่อน
ประเมินปฏิกิริยาของพ่อเเม่และเพื่อน
อธิบายเพื่อให้เข้าใจในการเปลี่ยนแปลง
ให้คำแนะนำ เป็นกำลังใจให้พ่อแม่ เพื่อให้เด็กปรับตัวได้
ได้แก่
ความเจ็บปวดทางกายเนื่องจากการตรวจรักษา (body injury and pain)
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ (body image)
การสูญเสียความสามารถในการควบคุม (loss of control)
ความตาย
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก (separation anxiety)
Critical care concept
ผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะวิกฤติ หมายถึง มีความเจ็บป่ วยรุนแรงและคุกคามชีวิต ต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง เพื่อให้มีชีวิตรอดและป้องกัยภาวะแทรกซ้อน
ปฏิกิริยาของบิดามารดา
กลัว วิตกกังวล สัมพันธ์กับอาการรุนเเรงของเด็ก
หงุดหงิด คับข้องใจ การขาดอำนาจต่อรอง
โกรธและโทษตัวเอง เมื่อเด็กป่วยจริงๆ
เศร้า
ปฏิเสธ ไม่เชื่อ
ปฏิกิริยาของเด็ก
นอไม่เพียงพอ
กลุ่มอาการ ICU พบในเด็ก ระหว่าง 18 เดือน - 6 ปี มีอาการหลอนทางจิตชั่วคราว สับสน จำวัน สถานที่ บุคคลไม่ได้ หูแว่ว เห็นภาพหลอน ไม่พูด เฉื่อยชา
แยกตัว สิ้นหวัง ปฏิเสธ
วิตกกังวล พฤติกรรมถดถอย โกรธ ก้าวร้าว
บทบาทพยาบาล
ประเมินผู้ป่วย ตั้งแต่เเรกรับและต่อเนื่อง
BP&PR แรกรับทุก 15 min ถ้า BP ไม่คงที่ทุก 1 h ตลอดเวลาที่อยู่หอผู้ป่วย
ฺBT แรกรับทุก 1 h ถ้า BT >38.5 c ํ / BT<36 c ํ หรือได้รับการควบคุมอุณหภูมิ
การทำงานระบบต่างๆ
ประเมิน pain เเรกรับและเวรละ 1 ครั้ง ทันทีเมื่อปวดหลังทำหัตถการ
ประเมิน emotion เเรกรับทุก 12 h ตลอดเวลาที่อยู่ในหอผู้ป่วย
การบันทึกต้องทำทันทีและต่อเนื่อง
การดูแลให้เกิดความสุขสบาย
จัดสิ่งเเวดล้อม และกิจกรรมในหอผู้ป่วยเพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเครียด
ดูแลให้เกิดความสะบายด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ ลดความเครียด
การดูแลระยะสุดท้าย
ปฏิกิริยาต่อความตาย
ระยะต่อรอง(bargaining)
ระยะซึมเศร้า(depression)
ระยะโกรธ (anger)
ระยะยอมรับ(acceptance)
ระยะปฏิเสธและแยกตัว (denial and isolation)
หลักการดูแล
เคารพและรับฟัง ยอมรับความคิดเห็น
แลกเปลี่ยนข้อมูล
เตรียมพร้อมในการรับข้อมูล
ประเมินการรับรู้เกี่ยวกับความเจ็บป่วยว่าตรงกับความเป็นจริง
ประเมินความต้องการการรับรู้ข้อมูลของเด็กและครอบครัว
ขั้นให้ข้อมูล
แสดงการตอบรับข้มูล
ช่วยในการวางแผนดูแล
การตัดสินใจร่วมกัน
การประสานความร่วมมือ
การพยาบาล
เพื่อประคับคอง โดยบรรเทาความเจ็บปวด ส่งเสริมให้สุขสบาย ดูแลให้สงบจิตใจในระยะสุดท้ายของชีวิต
เน้นที่คนไม่ใช่โรค
ประเมินและตอบสนองความต้องการ ด้านร่างกาย จิตใน จิตสังคม จิตวิญญาณ
กิจกรรม
ประเมินความวิตกกังวล
ประเมินอารมณ์
ลดการใช้พลังงานในผู้ป่วยอ่อนเเอ
ประเมินความต้องการ และได้รับการตอบสนองที่เหมาะสม
กระตุ้นให้แลกเปลี่ยนความรู้สึกเกี่ยวกับความตาย
ประเมินความเจ็บปวด
ลดความไม่สุขสบายด้านร่างกาย
ยอมรับการตัดสินใจ
Preparation for Hospitalization and Medical Procedures
Ifants
ความเครียด
การแยกจากพ่อแม่
ผู้ดูแลหลายคน
ไม่คุ้นที่ กลิ่น และเสียง
มีกิจวัตรประจำวันใหม่
ขัดจังหวะการนอน
สับสนกลางวันกลางคืน
ดูแล
คงไว้ซึ่งกิจวัตร
พยาบาลต้องมีความรู้ในการดูแลเด็ก
ให้ในสิ่งที่เด็กชอบ
พ่อแม่ต้องใจเย็นๆ
ไม่กวนและให้ความสะบาย
Toddlers/Preschoolers
ความเครียด
ถูกทิ้งให้อยู๋คนเดียว
ถูกจัดให้อยู่กับคนที่ไม่รู้จัก
ไม่สุขสบายเท่ากับอยู่บ้านหรือกับครอบครัว
เจ็บปวดจากอาการป่วย
ไม่คุ้นกับสถานที่
กลัวขั้นตอนการรักษา
ดูแล
อ่านหนังสือเกี่ยวกับการไปโรงพยาบาล
เล่นตุ๊ตตา
อธิบายให้กับเด็กเข้าใจแบบง่ายๆ
บอกความจริง
อยู่กับเด็กระหว่าการรักษาในโรงพยาบาล
School Age
ความเครียด
ห่างจากเพื่อนไม่ได้ไปโรงเรียน
คิดว่าการมาโรงพยาบาลคือการลงโทษ
เสียการควบคุม
เจ็บปวด
ไม่พูดหรือพูดน้อย
ตายระว่างการผ่าตัด
ดูแล
อธิบายให้เด็กเข้าใจด้วยภาษง่ายๆ
อ่านหนังสือ
พาทัว
ให้ตัวเลือกที่เป็นไปได้
อธิบายประโยชน์ของการผ่าตัด
อนุญาตให้เพื่อนมาเยี่ยมได้
มีคนอยู่กับเด็กมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
บอกให้เด็กรู้ว่าสามารถร้องไห้และกลัวได้
Teenager
ความเครียด
เสียการควบคุม
ห่างจากเพื่อน ไม่ได้ไปเรียน
รู้ว่ามีส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายเปลี่ยนแปลงไปหรือเสียหาย
กลัวกายผ่าตัดและความเสี่ยง
เจ็บปวด
ตายขณะผ่าตัด
กลัวความไม่รู้
กลัวว่าคนอื่นจะคิดอย่างไรเมื่อป่วยเข้าโรงพยาบาล
ดูแล
อ่านหนังสือ
ให้เพื่อนมาเยี่ยมหรือส่งการ์ดมาให้
อนุญาติในการตัดสินใจ
เขียนไดอารี่
ดูแลให้สุขสบายหรือนำอุปกรณ์เกมส์มาจากบ้าน
ถ้าคนไข้มีอารมณ์ที่ไ่คงที่ อาจให้อยู่คนเดียวถเาคนไข้ต้องการ
บอกให้เด็กรู้ว่าสามารถร้องไห้และกลัวได้
บอกความจริง
ให้ความเป็นส่วนตัวและให้เกียรติ