Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเลือกทำเลที่ตั้งและลักษณะของเรือนไทยทั้ง4ภาค - Coggle Diagram
การเลือกทำเลที่ตั้งและลักษณะของเรือนไทยทั้ง4ภาค
ภาคเหนือ
ลักษณะของเรือนกาแล เรือนล้านนา
มีชายคาที่ลาดคลุมลงมาต่ำถึงตัวเรือน
มีหน้าต่างน้อย
เหนือประตูห้องนอนมักประดับหัมยนต์
ด้านหน้าสร้างร้านน้ำวางหม้อน้ำดื่ม
ที่ยอดปั้นลมนิยมประดับไม้กาแลแกะสลัด
หันข้างเรือนไปทางทิศตะวันออก-ตะวันตก
หลังคามุงด้วยแผ่นไม้หรือกระเบื้องดินเผา
มีชานกว้างโล่ง
การเลือกทำเลที่ตั้ง
นิยมตั้งถิ่นฐานบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำระหว่างหุบเขา
มีการจัดระบบชลประทานที่เรียกว่า
ฝาย
ภาคกลาง
การเลือกทำเลที่ตั้ง
มักสร้างบ้านตามแม่น้ำเป็นแนวยาวทั้งสองฝั่งของลำน้ำ
เป็นที่ราบลุ่มที่มีความอุดมสมบูรณ์มีน้ำไหลผ่านหลายสาย
ลักษณะเรือนไทยภาคกลาง
เรือนครอบครัวเดี่ยว
มีขนาดเล็ก
มีเรือนนอน1หลัง
มีห้องครัวและห้องโถง
เรือนทั้งสองเชื่อมด้วยระเบียง
เรือนคหบดี
เป็นเรือนหมู่ขนาดใหญ่
ชานโล่ง ไม่มุงหลังคา กลางชานมักปลูกต้นไม้
ประกอบด้วยเรือนใหญ่ เรือนรี เรือนขวาง เรือนครัว และหอนก
เรือนครอบครัวขยาย
อาจอยู่ด้านข้าง ด้านตรงข้ามของเรือน พ่อ-แม่
มักสร้างเมื่อลูกสาวและลูกเขยเมื่อแต่งงานแล้ว
ภาคใต้
การเลือกทำเลที่ตั้ง
อาศัยน้ำบ่อหรือน้ำพัง
ลักษณะของเรือนภาคใต้
เรือนไทยมุสลิม
มีการแบ่งแยกบริเวณเพศชาย-หญิง
สะท้อนสถาปัตยกรรมพื้นบ้านและวัฒนธรรมอิสลาม
หลังคานิยมสร้างเป็นทรงจั่ว ทรงปั้นหยา ทรงมนิลา
เรือนไทยพุทธ
หลังคาจั่วและไม่ยกพื้นสูง
ขนาดไม่ใหญ่โต
นิยมมุงหลังคาด้วยกระเบื้องดินเผา
มีชายคายื่นยาว ช่องหน้าต่างน้อย
ภาคอีสาน
การเลือกทำเลที่ตั้ง
มีทั้งที่รายลุ่ม ใกล้แหล่งน้ำ ชายป่า
เลือกตั้งถิ่นฐานแตกต่างกันไป
ดินส่วนใหญ่เป็นดินทรายไม่อุ้มน้ำ
ลักษณะของเลือนอีสาร
เรือนถาวร
เรือนเครื่องสับไม้จริง
หลังคาจั่วมีหน้าต่างบานเล็กๆ
รูปแบบเรียบง่าย
เรือนดั้งต่อดิน
มีเรือนไฟและน้ำ
มีหลังคาคลุมต่อออกจากเรือนใหญ่
นิยมปลูกเป็นเรือนแฝดใต้ถุนสูง
มีสัดส่วนแข่งแรง
เรือนกึ่งถาวร
อาจแยกไปปลูกเป็นตูบต่อออกมาจากยุ้งข้าว
เป็นเรือนเหย้าของเขยที่แยกตัวออกจาก เรือนพ่อ-แม่