Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิของโรคติดเชื้อ และโรคติดต่อในชุมชนระยะเฉ…
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิของโรคติดเชื้อ และโรคติดต่อในชุมชนระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
วิธีการเเพร่กระจายเชื้อ
การสัมผัส (Contact)
สัมผัสโดยตรง (Direct contact)
เช่น การถูกสารคัดหลั่ง
สัมผัสทางอ้อม (Indirect contact)
เช่น ไวรัวตับอักเสบเอ บี
พาหะนำโรค (Vehicles)
เป็นการแพร่กระจาย โดยมี
เชื้อปนอยู่ในน้้ำ ยา สารน้ำ
เลือด อาหาร
ตัวนำเชื้อ (Vectors)
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดย
สัตว์เป็นพาหะ เช่น ยุงลาย
อากาศ (Air bone)
แพร่กระจายเชื้อโดยการสูดหายใจ
เชื้อโรคที่อยู่ในรูปของฝุ่นที่
ล่องลอยในอากาศ
Infectious diseases
เป็นความผิดปกติที่เกิดจากแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา ปรสิต บางโรคเกิดจากคนสู่คน สัตว์สู่คน พิษของสัตว์ สู่คน เช่น ปนเปื้อนในอาหาร น้ำ หรือสิ่งแวดล้อม
Communicable Diseases
เป็นความเจ็บป่วยที่เกิดจากการติดเชื้อ หรือสารพิษที่เกิดขึ้น ทั้งการติดต่อโดยตรง หรือโดยอ้อม จากคนสู่คน หรือจากสัตว์สู่คน หรือสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อสัตว์หรือคนที่ติดเชื้อ
NTD
เป็นกลุ่มโรคที่มีความหลากหลายของการติดเชื้อในเขตร้อนซึ่งพบได้ทั่วไปในประชากร เช่น ไวรัส เเบคทีเรีย
EID
โรคติดเชื้ออุบัติใหม่ หรือ โรคติดเชื้ออุบัติซ้ำ รคที่เกิดจากสาเหตุการติดเชื้อโรคหรือโรคที่ติดต่อกันได้ เช่น ไข้หวัดใหญ่
Chain of Infection
Infectious agents
ได้แก่เชื้อจุลชีพก่อโรคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส หรือเชื้อราก่อโรค
Portal of Exit
ช่องทางในการแพร่กระจายเชื้อโรคออกจากแหล่งสะสมโรคหรือ Reservoir
Reservoir
แหล่งสะสมของเชื้อจุลชีพก่อโรค ทำหน้าที่เป็นแหล่งสะสม และแพร่กระจาย
Portal of entry
ช่องทางที่เชื้อจะทำการเข้าสู่ ผู้ติดเชื้อรายใหม่
Susceptible host
ผู้ติดมีโอกาสติดเชื้อ หรือมีกลุ่มเสี่ยงที่จะติดเชื้อ ตัวอย่างเช่น เด็ก
Mode of Transmission
วิธีการติดต่อของโรค จาก แหล่งสะสม ไปยัง ผู้ติดเชื้อใหม่ ซึ่งสามารถเกิดได้ด้วย2วิธี
ทางตรง (Direct) คือการสัมผัสกับ
เชื้อก่อโรคโดยตรง ตัวอย่างเช่น
การสัมผัสกับผู้ป่วย
ทางอ้อม (Indirect) ซึ่งอาจได้แก่
ผ่านอากาศ (Airborne transmission)
ผ่านการปนเปื้อนกับสิ่งอื่น
(Vehicles) เช่น น้ำ อาหาร
เชื้อก่อโรค (Infectious Agents)
ชื่อเรียกจุลินทรีย์ (Microorganisms) หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่อาศัยร่างกายของสิ่งมีชีวิตอื่น เพื่อการเจริญเติบโตและการสืบเผ่าพันธุ์ ไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ หรือมนุษย์ จุลินทรีย์เหล่านี้สามารถรุกรานเข้าไปภายในร่างกายของผู้ถูกอาศัยที่เรียกกันว่า “โฮสต์” (Host) ทำให้เกิดการติดเชื้อและก่อให้เกิดโรค
Isolation precautions
การปฏิบัติเพื่อป้องกันการติดเชื้อและควบคุมการแพร่กระจาย เชื้อจากผู้ป่วยสู่ผู้ป่วย บุคลากร ญาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งประกอบด้วยมาตรการ
Standard Precautions และTransmission-based precautions
การป้องกันการติดเชื้อ จะมีการแยกผู้ป่วยที่เป็นแหล่งของเชื้อโรคออกจากผู้ป่วยอื่น เพื่อไม่ให้แพร่เชื้อไปสู่ผู้ป่วยอื่น
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคคือ
ห้องที่ใช้แยกผู้ป่วยที่มีเชื้อโรค ติดต่อผู้อื่นได้ ในห้องควรมีความดันตํ่า
ห้องที่ใช้แยกผู้ป่วยติดเชื้อง่าย ควรจะเป็นแรงดันบวก มีความดันในห้องสูง
ห้องสำหรับแยกผู้ป่วย เป็นห้องที่มิดชิด
Transmission-based precaution
เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อในผู้ป่วยที่ทราบ การวินิจฉัยแล้วโดยป้องกันตามกลวิธีการติดต่อเพิ่มเติมจากการดูแลผู้ป่วย ด้วย Standard precautions
Droplet precautions
ใช้ลดความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูก และ/ หรือน้ำลายที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน
การป้องกัน ให้สวมผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด Surgical mask เมื่อต้องเข้าใกล้ ผู้ป่วย ภายในระยะ 3 ฟุต ไม่ควรเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
Contact precautions
ใช้ลดความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อจากการ สัมผัสโดยตรง (Direct contact), เป็นการแพร่กระจายเชื้อจากคนสู่คน หรือจากการสัมผัสโดยอ้อม (Indirect contact)
การป้องกัน
1.สวมถุงมือและถอดถุงมือทันทีหลังให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วย
2.สวมเสื้อคลุม หรือ ผ้ากันเปื้อนพลาสติกเมื่ออยู่ใกล้ชิดผู้ป่วย
3.ไม่ควรเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ถ้าจำเป็นต้องเคลื่อนย้าย ให้ห่อหุ้มหรือปิดส่วนที่มีการติดเชื้อ
Airborne precautions
ใช้ลดความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศที่เกิดฝอยละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 5 ไมครอน
การป้องกัน สวมผ้าปิดปากปิดจมูกที่มีคุณสมบัติกรองเชื้อโรค เมื่อเข้าไปใน ห้องผู้ป่วย
โรค
hepatitis
ไวรัสตับอักเสบ มี 5 ชนิด ประกอบด้วย ไวรัสตับอักเสบ เอ บี ซี ดี และอี โดยไวรัสที่เป็นปัญหาสำคัญในบ้านเรา ได้แก่ ไวรัสตับอักเสบบีและซี เนื่องจากไวรัสทั้งสองชนิดทำให้เกิดตับอักเสบเรื้อรัง ตับแข็ง
อาการ
ตับอักเสบเฉียบพลัน ผู้ป่วยจะมีอาการที่พบได้บ่อย คือ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อ ปวดข้อ คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร
ตับอักเสบเรื้อรัง ผู้ป่วยมักไม่มีอาการ แต่จะมีการทำลายเซลล์ตับไปเรื่อยๆจนเกิดตับแข็ง และเป็นมะเร็งตับในที่สุด
การวินิจฉัย
ตรวจการทำงานของตับ โดยการหาระดับ SGOT[AST],SGPT [ALT]ค่าปกติน้อยกว่า 40 IU/L ถ้าค่ามากกว่า 5-2 เท่าให้สงสัยว่าตับอักเสบ
การตรวจหาเชื้อ ไวรัสตับอักเสบ เอ ตรวจหา Ig M Anti HAV
ไวรัสตับอักเสบ บี ตรวจหา HBsAg
ไวรัสตับอักเสบ ซี Anti-HCV
การป้องกัน
การมีอนามัยส่วนบุคคล ส่วนรวมที่ดี เช่น การล้างมือให้สะอาดก่อนทำสิ่งใด หลังการขับถ่าย
หลีกเลี่ยงการรับ การสัมผัสเลือด น้ำเหลือง
การฉีดวัคซีนป้องกัน ไวรัสตับอักเสบ
Malaria
ไข้จับสั่น ไข้ป่า ไข้ป้าง เกิดจากการติดเชื้อโปรโตซัวชนิด พลาสโมเดียม (Plasmodium) ที่นำโดยยุงก้นปล้องเพศเมีย
อาการ
ระยะหนาวสั่น: ผู้ป่วยมีอุณหภูมิร่างกายลดลง มีอาการหนาวสั่น กินเวลา 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง
ระยะไข้ตัวร้อน: ผู้ป่วยมีไข้สูง 40-41 เซลเซียส เป็นเวลา 1-4 ชั่วโมง
ระยะออกเหงื่อ: กินเวลานาน 1-2 ชั่วโมง จากนั้นอุณหภูมิร่างกายปกติ
การป้องกัน
1.หลีกเลี่ยงการออกไปข้างนอกในช่วงเวลาที่ยุงก้นปล่องออกหากิน
2.สวมใส่เสื้อผ้าให้มิดชิด ให้เหลือพื้นที่ที่มีโอกาสโดนยุงกัดน้อยที่สุด
3.ใช้ยาทากันยุง
การตรวจวินิจฉัย
การตรจจเลือดหาเชื้อมาลาเรีย
ยาป้องกันมาลาเรีย
Doxycycline
เป็นยาต้านจุลชีพ และสามารถใช้เพื่อป้องกันมาลาเรีย
Mefloquine ขนาดที่ใช้คือ 1 เม็ด (250 mg) สัปดาห์ละหนึ่งครั้ง โดยต้องกินล่วงหน้า 2 สัปดาห์ก่อนเข้าพื้นที่เสี่ยง
leptospiro
sis
เป็นการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นได้ทั้งกับคนและสัตว์ การติดเชื้อในคนมีสาเหตุมาจากการสัมผัสดิน น้ำ
การวินิจฉัย
มีการส่งตรวจเลือดหรือตรวจปัสสาวะ
การป้องกันโรคฉี่หนู
1.แนะนำให้หลีกเลี่ยงการว่ายน้ำหรือการเดินลุยในน้ำที่อาจปนเปื้อนเชื้อปัสสาวะจากสัตว์นำโรค
2.หมั่นตรวจตราแหล่งน้ำและดิน
3.แยกสัตว์ที่ติดเชื้อออกจากสัตว์ชนิดอื่น ๆ
อาการ
ระยะที่1 จะมีอาการไข้สูงแบบทันทีทันใด ปวดศีรษะ สับสน ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อมาก
ระยะที่2อาการไข้ 1 สัปดาห์ มีปวด อาจมีอาการสับสน ไข้ต่ำๆ คลื่นไส้ อาเจียนแต่ไม่รุนแรง เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
melioidosis
เป็นโรคติดเชื้อจากแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่ปนเปื้อนได้ในน้ำและดิน แพร่กระจายสู่คนผ่านการสัมผัสเชื้อโดยตรงหรือโดยการติดต่อจากสัตว์ที่ติดเชื้อ เช่น สุนัข แมว
อาการ
การติดเชื้อที่ปอด เกิดจากการสูดดมเชื้อเข้าไป ไข้ ปวดศีรษะ ไอ
การติดเชื้อในกระแสเลือด ผู้ป่วยด้วยโรคที่มีความเสี่ยงต่อเชื้อเมลิออยด์ เช่น โรคเบาหวาน ภาวะไตวาย
สามารถแพร่กระจายจากผิวหนังผ่านเลือดไปสู่อวัยวะอื่น ๆ น้ำหนักลด ปวดท้อง เจ็บหน้าอก ปวดศีรษะ ปวดบริเวณกล้ามเนื้อ
การวินิจฉัย
การตรวจรอยโรคที่ผิวหนัง การตรวจภาพเอกซเรย์ปอด การตรวจเชื้อและการตรวจเพาะเชื้อจากเลือดและสารคัดหลั่ง
การป้องกัน
ผู้ที่ทำการเกษตรควรสวมรองเท้าบูทเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากการที่เท้าและขาสัมผัสกับดิน
COVID 19
สารพันธุ์ที่ก่อโรคไม่รุนเเรง 4 สายพันธุ์ ที่มักก่อโรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน
HCo V-229E
HCo V-OC43
HCo V NL63
HCo V HKU1
ก่อโรคที่รุนเเรง 3 สายพันธุ์
SARS - CoV ทำให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลัน
MERS-CoV
SARS-CoV-2
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจหา Influenza A และ B ด้วย Rapid test kit
2.การย้อม Gram’s stain และ Acid-fast จากเสมหะ
การตรวจวินิจฉัย SARS-CoV-2
การตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อ SARS-CoV-2 ด้วยวิธี Real-time RT-PCR ต่อ N-gene และ
ORF-1b gene
อาการ
ไข้ไอ หายใจถี่ และหายใจลำบากในกรณีที่รุนแรงมากขึ้นอาจพบอาการปอด
อักเสบ โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง ไตวาย
การป้องกัน
1.เว้นระยะห่าง2เมตร
2.ล้างมือบ่อยๆ
3.สวมใส่หน้ากากอนามัย
วิถีทางที่เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
ผิวหนัง
เยื่อบุต่างๆ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบสืบพันธุ์ระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินหายใจ
ระยะของการติดเชื้อ
1.ระยะฟักตัวเป็นระยะที่ยังไม่ปรากฏ
ระยะเริ่มมีอาการ จะมีอาการเเสดงออก
ระยะเจ็บป่วยเเสดงอาการชัดเจน
อาการรุนเเรงต่างๆค่อยๆหายไป
นางสาวณัฐธยาน์ บุญศรี UDA6280003