Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3.4 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีภาวะซึมเศร้าและมีปัญหา…
บทที่3.4 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีภาวะซึมเศร้าและมีปัญหาฆ่าตัวตาย
ความหมายภาวะซึมเศร้า
ภาวะซึมเศร้า หมายถึง การที่บุคคลมีพฤติกรรมที่เกิดจากภาวะจิตใจที่หม่นหมอง หดหู่ เศร้า สร้อย ท้อแท้ สิ้นหวัง และมองโลกในแง่ร้าย
หรือการสูญเสียที่เกิดจากการปรุงแต่งขึ้น
ซึ่งมีสาเหตุมาจากการสูญเสียเป็นสำคัญ ทั้งจากการสูญเสียที่ เกิดขึ้นจริง
พฤติกรรมซึมเศร้านี้เกิดในช่วงระยะเวลาที่ยาวนาน และ กระทบกระเทือนต่อวิถีการดำเนินชีวิตให้ผิดปกติ
ลักษณะอาการและอาการแสดงของบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า
1) การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
เบื่ออาหาร การรับรสชาติเปลี่ยนแปลง ไม่อยากอาหาร
ผู้ป่วยร้อยละ 25 น้ำหนักตัวลดลง ดูซูบซีด แก่ดูแก่กว่าอายุจริง
ผู้ป่วยร้อยละ 25 จะมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย โดยไม่ทราบสาเหตุ
ท้องผูก เนื่องจากการรับประทานอาหารน้อย และร่างกายเคลื่อนไหวน้อยกว่าปกติ
นอนไม่หลับเป็นเวลา 1-2 สัปดาห์ ซึ่งเป็นอาการแรกสุดก่อนที่มีอาการอื่นเกิดขึ้น
ระดับฮอร์โมนเปลี่ยนแปลง เช่น ประจำเดือนมาน้อยกว่าปกติ
ความต้องการทางเพศลดลง
2) ความสนใจในตนเองลดลง
รู้สึกอยากจะร้องไห้ หรือร้องไห้ง่าย
รู้สึกว่า ตนเองไร้คุณค่า ไม่มีประโยชน์ต่อสังคม อาจทำร้ายตนเอง
มีอาการเศร้า เป็นสำคัญ มีความรู้สึกหดหู่ใจ ไม่สดชื่น ไม่แจ่มใส
ผู้ป่วยร้อยละ 75 หงุดหงิดง่าย และมีความรู้สึกขี้กลัว
มีความคิดเชื่องช้าลง ขาดสมาธิจำอะไรไม่ค่อยได้
มักคิดหมกหมุ่นเกี่ยวกับตนเอง
มีพฤติกรรมที่สื่อในการทำลายข้าวของ และทำร้ายตนเอง
3) การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
ผู้ป่วยมีความสนใจสิ่งแวดล้อมลดลง
ถอยหนีจาก สังคม
ไม่ชอบงานสังสรรค์หรืองานรื่นเริง
หรือไม่ชอบไปในที่ชุมชน
โดยหากมีการถอยหนีออกจากสังคมมาก หรือเป็นระยะเวลายาวนาน
ทำให้เกิดอาการประสาทหลอนและหลงผิดได้
ลักษณะอาการและอาการแสดงของบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า
จำแนกระดับความรุนแรงของ ได้เป็น 3 ระดับ
ภาวะซึมเศร้าระดับปานกลาง (moderate depression/neurotic depression)
ภาวะอารมณ์ซึมเศร้าที่รุนแรงขึ้นกว่าระดับอ่อน
จนถึงขั้นกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติภารกิจประจำวัน
สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปกติ แม้จะขาดประสิทธิภาพไปบ้าง
โดยกินระยะเวลาหลายเดือน
จากการสูญเสียสามี ทำให้เกิดความเศร้า โศกจนไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
ภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง (severe depression/Psychotic depression)
ภาวะของอารมณ์ซึมเศร้าที่รุนแรงอย่างมาก
มีการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมโดยทั่วๆ ไป อย่างเห็นได้ชัดเจน
ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ในชีวิตประจำวันได้
ผู้ป่วยมักถอยหนีออกจากโลกของความเป็นจริงอาจที่ความคิดทำร้ายตนเองหรือมีอาการหลงผิดได้
ภาวะซึมเศร้าระดับอ่อน (mild depression/blue mood)
เมื่อต้องแยกจากบุคคล อันเป็นที่รัก
บุคคลทั่วไปมักมีประสบการณ์กับภาวะซึมเศร้าระดับนี้เป็นครั้งคราว
ภาวะอารมณ์ที่ไม่สดชื่น หม่นหมอง
โดยมักภาวะซึมเศร้าระดับนี้เพียงชั่วคราว
เมื่อตกในสภาวการณ์ที่บุคคลต้องอยู่ลำพังหรือโดดเดี่ยว
ความหมาย ฆ่าตัวตาย
พยายามทำให้ชีวิตของตนเองสิ้นสุดลงด้วยวิธีการต่างๆ ที่ไม่ใช่อุบัติเหตุ
การฆ่าตัวตายถือเป็น พฤติกรรมที่ผิดปกติ และมีพยาธิสภาพทางจิตใจ
การที่บุคคลมีความคิดอยากทำ ร้ายตนเอง
การฆ่าตัวตาย (suicide) หรือใช้คำว่า อัตวินิบาตกรรม
ลักษณะอาการและอาการแสดงของบุคคลที่มีปัญหาฆ่าตัวตาย
2) บุคคลกลุ่มนี้มีความคิดซ้ำๆ ที่จะทำร้ายตนเอง
บุคคลที่ มีลักษณะอาการและอาการแสดงนี้ เรียกว่า การฆ่าตัวตายแบบคุกคาม (threatened suicide)
มักแสดงออกด้วยการพูดเปรยๆ หรือบอกผู้อื่นในเชิงขู่ว่า ตนจะทำฆ่าตัวตาย
แต่ยังขาดความเชื่อมั่นในการตัดสินใจของ ตนเองกล้าๆ กลัวๆ
3) บุคคลกลุ่มนี้จะมีอารมณ์ซึมเศร้าชัดเจน
มีการวางแผน การกระทำ และต้องการให้เกิดผลโดยแท้จรงิ
มักจะแสดงพฤติกรรมที่เป็นการเตือนทั้งทางอ้อม
มีความมุ่งมั่นที่จะฆ่าตัวตายให้สำเร็จ
บุคคลที่ มีลักษณะอาการและอาการแสดงนี้ เรียกว่า การฆ่าตัวตายสำเร็จ (completed suicide / committed suicide)
1) บุคคลจะพยายามทำร้ายตนเองด้วยวิธีการต่างๆ
กลุ่มผู้ที่มีความคิดว่า การฆ่าตัวตาย คือ ทางออกที่ดีที่สุด
เพื่อประท้วงหรือเรียกร้องความสนใจให้ผู้อื่นหัน มาสนใจ/ใส่ใจตนมากขึ้น
ผู้ที่ที่พยายามทำร้ายตนเอง แต่ไม่ได้หวังผลจะให้ตายจริงๆ
บุคคลที่ พยายามฆ่าตัวตาย มักจะฆ่าตัวตายได้สำเร็จในครั้งต่อมาถึง ร้อยละ 20 บุคคลที่มีลักษณะอาการและอาการ แสดงนี้ เรียกว่า มีการพยายามฆ่าตัวตาย (attempted suicide)
ปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
บุคคลที่พยายามฆ่าตัวตาย
บุคคลที่โรคเรื้อรังหรือเป็นโรคทมี่ีความทุกข์ทรมานมาก
เมื่อบุคคลอายุเพิ่มมากขึ้นจะมีภาวะเสี่ยงในการฆ่าตัวตายมากขึ้น
บุคคลทมี่ีปัญหาสุขภาพจิตประมาณ จะมีภาวะซึมเศร้าขณะลงมือฆ่าตัวตาย
เพศหญิงมีอัตราการพยายามฆ่าตัวตายมากกว่าเพศชาย
บุคคลที่ฆ่าตัวตายสำเร็จ เคยมีประวัติการพยายามฆ่าตัวตายมาก่อน
บุคคลที่แต่งงานและมบีุตร มีอัตราการฆ่าตัวตายน้อยกว่า บุคคลที่มีสถานะโสด
บุคคลที่ต้องต่อสู้ชีวิตตามลำพัง
บุคคลที่ต้องทำงานในสภาวะกดดัน/สถานการณ์เคร่งเครียด
สาเหตุการเกิดภาวะซึมเศร้า อธิบายได้ 2 แนวคิด
1) แนวคิดด้านกลไกทางจิตใจ
ความตายของบุคคลอันป็นที่รัก หรือการสูญเสียเกียรติยศ ชื่อเสียง ทรัพย์สิน เป็นต้น
การสูญเสียที่เกิดจากการคิดปรุงแต่งขึ้นเองอย่างเกิน ความเป็นจริง
มีสาเหตุสำคัญมาจากความ เจ็บปวดที่เกิดจากความสูญเสีย
การที่บุคคลสูญเสียอวัยวะบางส่วนไป ก็กลับคิดว่าตนเองหมดสภาพไปทั้งหมด
2) แนวคิดด้านการเปลี่ยนแปลงของสารชีวเคมีในร่างกาย
มีคุณสมบัติของสารกลุ่มนี้ ทำหน้าที่กระตุ้นสมองส่วนที่ทำให้มนุษย์ตื่นตัว
เมื่อสารกลุ่มนี้ ลดลง ทำให้บุคคลเกิดอารมณ์เศร้า หดหู่ในระดับที่แตกต่างกัน
ผู้ที่มี พฤติกรรมซึมเศร้าเกิดจาการลดน้อยลงของสารจำพวกไบโอจินิก อะมีนส์
การแก้ไขจึงมุ่งไปที่การเพิ่มระดับอะ มีนส์ (amines) ในกระแสโลหิต โดยใช้ยาจำพวก tricyclesหรือการ รักษาด้วยกระแสไฟฟ้า
สาเหตุการฆ่าตัวตาย
1) สาเหตุด้านชีวภาพ
ชีววิทยาของการฆ่าตัวตาย
การเจ็บป่วยทางด้านร่างกาย
2) สาเหตุด้านจิตใจ
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด
ด้านจิตวิเคราะห์
สาเหตุทางด้านสังคม
สาเหตุด้านจิตวิญญาณ
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย เนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำ เนื่องจากเคยมีประวัติการทำร้ายร่างกายตนเองก่อนหน้า
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ เนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง
3) กิจกรรมการพยาบาล
• การลดภาวะซึมเศร้า
• การป้องกันการทำร้ายตนเองและผู้อื่น
• การส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองให้แก่ผู้ป่วย
• การส่งเสริมการดูแลตนเองด้านสุขอนามัย
• การส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม
• การดูแลเรื่องการให้ได้รับสารน้ำสารอาหารเพียงพอต่อร่างกาย
• การส่งเสริมการทำกิจกรรม และการพักผ่อนตามความต้องการของร่างกายให้เกิด ความสมดุล
• การสอน และฝกึทักษะการเผชิญปัญหา เพื่อปรบัปรุงบุคลิกภาพให้ผู้ป่วยเขม้แข็งมากขึ้น
• สอน และให้ข้อมูลเกี่ยวกบัการแสวงหาแหลง่สนบัสนุนช่วยเหลือทางสังคมของผปู้่วยที่ มีความสอดคล้องกบัผปู้่วย
1) การประเมินภาวะซึมเศร้า
ประเมินความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย
ประเมินการดูแลตนเองด้านสุขอนามัย
ประเมินระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า
4) การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยและผู้อื่นปลอดภัย ไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว
ผู้ป่วยพูดถึงตนเองด้วยความพอใจ
ผู้ป่วยมีภาวะซึมเศร้าลดลง
การพยาบาลบุคคลทมี่ีปญัหาการฆ่าตัวตาย
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้ารุนแรง และเคยมีประวัติการทำร้าย
ตนเอง
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเนื่องจากรู้ว่าตนเองไม่มีคุณค่า และใช้กลไกทางจิตในการแก้ไข ปัญหาไม่เหมาะสม
3) กิจกรรมทางการพยาบาล
• ส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย
• การส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
• การเฝ้าระวัง หรือป้องกันการฆ่าตัวตาย
• ฝึกทักษะการเผชิญปัญหาในชีวิตอย่างสร้างสรรค์
1) การประเมินพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย
อาการและอาการแสดง
มีความตั้งใจ/มีการวางแผนการฆ่าตัวตายอย่างชัดเจน
ข้อมูลส่วนบุคคลต่างๆ ทเี่ป็นปัจจัยเสี่ยง และเป็นสาเหตุชักจูงให้ฆ่าตัวตาย
ความพร้อมในด้านแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมของผู้ป่วย
4) การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยรู้สึกมีคุณค่าในตนเองเพิ่มมากขึ้น
ผู้ป่วยสามารถตั้งเป้าหมายในชีวิต และมีความหวังในชีวิตมากยิ่งขึ้น และมพีลงัในการ ปฏิบัติตนให้บรรลผุลตามเป้าหมาย
ผู้ป่วยปลอดภัย ไม่มีพฤติกรรมการพยายามฆ่าตัวตาย