Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน, นางสาวสุวิมล ชมภูพื้น รหัสนักศึกษา 600972 -…
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน
สภาพปัญหาและแนวโน้มของปัญหา
พฤติกรรมสุขภาพ
การออกกำลังกาย
ทำกิจกรรมน้อยลง
อยู่กับเทคโนโลยี
เรียนพิเศษ
การผ่อนคลาย
มีหลากหลาย
การบริโภคอาหาร
ทานอาหารขยะมากขึ้น
ได้รับวัฒนธรรมการกินจากตปท.
ปัญหาสุขภาพ
โภชนาการ
ต่ำกว่าเกณฑ์
ขาดโปรตีนและพลังงาน
โลหิตจางจากขาดธาตุเหล็ก
ขาดไอโอดีน
เจริญเติบโตช้า
มากกว่าเกณฑ์
อ้วน
โรคติดเชื้อ
ทางเดินหายใจส่วนบน
ที่มีสัตว์เป็นภาหะ
ไข้เลือดออก
มาลาเรีย
โรคติดเชื้อ
ไข้หวัด
โรคผิวหนัง
เกี่ยวข้องกับความสะอาด
สุขภาพช่องปาก
ฟันผุและเหงือกอักเสบ
เริ่มเป็นตอน 6 ปีขึ้นไป
ความผิดปกติของสายตา
ยาว
เอียง
สั้น
อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ
การใช้สารเสพติด
ด้านจิตใจ อารมณ์และพฤติกรรม
การปรับตัวเข้ากับสิ่งใหม่ๆ
ส่งผลอาการทางกาย
ปวดศีรษะ
ปวดท้อง
เป็นลม
ส่งผลด้านจิตใจ
ส่งผลพฤติกรรม
พูดปด
ลักขโมย
กลัวการไปร.ร.
ปัสสาวะรดที่นอน
ปัญหาอื่นๆ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ติดเกม
ปัจจัยที่มีอิทธิพล
ด้านตัวเด็ก
ภูมิคุ้มกันยังพัฒนาไม่เต็มที่ เจ็บป่วยง่าย
โรคที่สามารถติดต่อทางพันธุกรรม
โรคที่เกี่ยวกับเพศ
ด้านครอบครัว
การอบรมเลี้ยงดู
สัมพันธภาพและบรรยากาศครอบครัว
ถ้าดี จะช่วยให้เด็กมีอารมณ์และจิตใจที่มั่นคง
พฤติกรรมสุขภาพ
เด็กจะเลียนแบบพฤติกรรม
ระดับการศึกษา&ฐานะทางศ.
ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านกายภาพและชีวภาพ
ด้านสังคม
มีอิธิพลต่อเด็กมาก
บริการสุขภาพ
ควร
ครอบคลุม
เข้าถึงง่าย
ส่งเสริมสุขภาพ
ป้องกันโรค
บทบาทหน้าที่พยาบาลชุมชนในงานอนามัยร.ร.
การสร้างเสริมสุขภาพ
ตรวจสุขภาพนร.
ค้นหาคนมีโรค/ข้อบกพร่อง
ให้ความรู้เรื่องการตรวจสุขภาพ
ชั่งนน.สส.ทุกเดือน/เทอมละครั้ง
การลงบันทึกบัตรสุขภาพนร.
มีบัตรบันทึกสุขภาพประจำตัว
ส่งเสริมการออกกำลังกาย
อย่างน้อยWkละ 3 ครั้ง
การป้องกันโรค
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
จัดสวล.ในร.ร.ให้ถูกสุขลักษณะ
การรักษาพยาบาลนร.ที่เจ็บป่วย
รักษาพยาบาลขั้นต้น ถ้าไม่ได้ให้ส่งต่อ
การฟื้นฟูสภาพนักเรียน
เพื่อให้ดำรงชีวิตได้ปกติ
ช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.การประเมินสภาวะสุขภาพนักเรียน
ตรวจสุขภาพนักเรียน
ตรวจสุขภาพด้วยตนเอง
ตรวจสุขภาพของนร.
การสำรวจอนามัยสวล.
สำรวจสุขาภิบาลสวล.ในร.ร.
สำรวจสุขาภิบาลอาหารในร.ร.
2.การวางแผนแก้ปัญหา
ประชุมครู
เพื่อขอความร่วมมือในการดำเนินอนามัยร.ร.
ชี้แจงบทบาทครูในการส่งเสริมนร.ด้านสุขภาพ
ทุกต้นการศึกษา
ประชุมผู้ปกครอง
อย่างน้อยปีละครั้ง
เพื่อขอความร่วมมือในการดำเนินงาน
เผยแพร่ความรู้เรื่องสุขภาพ
3.การปฏิบัติตามแผน
จัดทำโครงการแก้ปํญหา เน้นทักษะการปฏิบัติ การสร้างเจตคติ ให้ความรู้ที่เหมาะสมตามวัย
ป.ต้น
เน้นการปฏิบัติที่ถูกต้อง
ป.ปลาย
เน้นด้านเจตคติเพื่อนำไปสูการปฏิบัติและการพัฒนาความรู้
4.การประเมินผล
ทำให้ทราบความก้าวหน้าของการทำงาน
ทราบถึงผลการสำเร็จของงานและปรับปรุงในครั้งถัดไปให้สมบูรณ์มากขึ้น
การตรวจสุขภาพนักเรียนในร.ร.
วัตถุประสงค์
ค้นหานร.ที่มีความบกพร่องทางด้านสุขภาพและให้คำแนะนำ รักษา แก้ไขและส่งต่อ
ป้องกันอาการที่อาจเกิดขึ้นอย่างรุนแรง
ป้องกันไม่ให้เกิดโรคติดต่อในร.ร.
ให้นร.มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง
ฝึกให้นร.มีสุขนิสัยทางด้านสุขภาพที่ดร
ขั้นตอนการตรวขสุขภาพนร.
1.วางแผนการตรวจสุขภาพ กำหนดวัน เวลาและชั้นเรียน
2.การจัดเตรียมอุปกรณ์ในการตรวจสุขภาพ
ไฟฉาย
ไม้กดลิ้น
หูฟัง
ปรอทวัดอุณหภูมิ
เครื่องมือตรวจหู
เครื่องทดสอบการได้ยิน
อุปกรณ์เวชภัณฑ์ในการปฐมพยาบาล
เครื่องชั่งน้ำหนัก
แผ่นวัดสายตา
ที่วัดส่วนสูง
3.ดำเนินการตรวจสุขภาพ บันทึกผลและช่วยเหลือในรายที่มีปัญหา
4.ติดตามผลการช่วยเหลือ
การประเมินการเจริญเติบโต
ภาวะการเจริญเติบโตดี
ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์ดี
ค่อนข้างสูง
สูงกว่าเกณฑ์
ส่วนสูงตามเกณฑ์
น้ำหนักตามเกณฑ์ ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์ดี
มีรูปร่างสมส่วน
ภาวะการเจริญเติบโตไม่ดี
น้ำหนักมากกว่าเกณฑ์
เสี่ยงต่อการมีภาวะโภชนาการเกิน(ท้วม)ถ้าไม่ดูแลน้ำหนักจะเพิ่มได้
อยุ่ในเกณฑ์ภาวะโภชนาการเกิน
อ้วนระดับ1
มีนน.มากกว่าเด็กที่มีส่วนสูงเท่ากันมาก
อ้วนระดับ2
มีโอกาสเป็นผู้ใหญ่อ้วน
น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
ขาดสารอาหาร
เสี่ยงขาดสารอาหาร(ค่อนข้างผอม)
ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์
ขาดสารอาหาร(เตี้ย)
เสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร(ค่อนข้างเตี้ย)
ตรวจการได้ยิน
วิธีที่1
นร.ยืนหันหลังให้ผู้ตรวจ ผู้ตรวจใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ถูกันเบาๆทางด้านหลัง ห่างจากหูของนร.ประมาณ 1 นิ้ว แล้วถามว่าได้ยินหรือไม่
วิธีที่ 2
นร.ยืนหันหลัง ห่างจากผู้ตรวจ 5 ฟุต ผู้ตรวจเรียกชื่อหรือบอกให้นร.ทำตามคำสั่งด้วยเสียงปกติ ถ้าขานตอบหรือทำตามคำสั่งแสดงว่าการได้ยินปกติ
ตรวจสายตา
การเตรียมสถานที่และอุปกรณ์
มีความยาวไม่น้อยกว่า 6m หรือ 20ฟุต
ติดแผ่นทดสอบสายตาที่ฝาผนังเรียบทึบ บรรทัดล่างสุดของตัวอักษรอยู่ระดับสายตานร.
วัดระยะทางที่พื้นจากฝากผนังที่ติดแผ่น ออกมาระยะละ 1m พร้อมทำเครื่องหมาย
เตรียมตัวอักษร E ในการณีใช้แผ่นE chart
วิธีทดสอบและการบันทึกผล
5.ต้องอ่านได้มากกว่าครึ่งของบรรทัดนั้น
4.กรณีใช้ E chart ให้นร.ถืออักษรE หรือใช้ 3 นิ้ว หันขาตัวอีไปตามที่มองเห็น
3.อ่านจากบนลงล่าง ถ้าในระยะ 6m อ่านบรรทัดบนสุดไม่ได้ ให้ร่นระยะเข้ามาเป็น 5,4,3,2,1m ตามลำดับ
2.วัดสายตาทีละข้าง เริ่มที่ขวาก่อน
6.กรณีสวมแว่นตาให้ทดสอบทั้งขณะใส่แว่นและถอดแว่น โดยวัดขณะถิดแว่นก่อน เพื่อดูว่าตัดแว่นเหมาะสมกับสายตาไหม
7.กรณีคนเยอะ ให้อ่านบนสุดแล้วตามด้วยล่างสุด ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ในเลื่อนบรรทัดขึ้นข้างบน
8.หากยืนระยะ 1mแล้วอ่านแถวบนสุดไม่ได้ ให้ทดสอบโดยการนับนิ้ว/การเคลื่อนไหวของมือ/ทิศทางของเเสง/การรับรู้ว่ามีแสง
9.บันทึกผลการทดสอบลงในบัตรส.ศ.3
เศษ=ระยะทางที่นร.ยืน
ส่วน=ระยะทางที่คนปกติอ่านได้
1.ให้นร.ยืนที่ระยะห่าง 6m
การช่าวยเหลือ
ความสามารถในการมองเห็นต่างกันเกิน2แถว ควรพบจักษุแพทย์เพื่อวัดสายตาประกอบแว่น
ระหว่างรอการแก้ไขให้นั่งเรียนแถวหน้า
ถ้าข้างใดข้างหนึ่งน้อยกว่า6/12 ควรพบจักษุแพทย์
ถ้าค.สามารถในการมองเห็นข้างใดข้างหนึ่งเท่ากับ6/9หรือ6/12 เฝ้าระวังโดยการตรวจสายตาปีละครั้ง
การตรวจร่างกายทั่วไป
ท่าตรวจ
5.นร.ญใช้มือขวาเปิดผมไปทัดไว้ด้านหลังหูขวา หันหน้าไปทางซ้าย ส่วนนร.ช.หันหน้าไปทางซ้ายเท่านั้น
6.นร.ญ.ใช้มือซ้ายเปิดผมไปทัดไว้ด้านหลังหูซ้าย หันหน้าไปทางขวา ส่วนนร.ช.หันหน้าไปทางขวา ควรสังเกต เหา หูน้ำหนวก ต่อมน้ำเหลืองหลังหูโต
4.ปลดกระดุมหน้าอกเสื้อ ใช้มือ2ข้างดึงคอเสื้อออกให้กว้างแล้วหมุนตัวไปด้านซ้ายและขวาเล็กน้อยเพื่อจะได้เห็นรอบๆบริเวณคอทั้งด้านหน้าและด้านข้าง ควรสังเกตโรคผิวหนัง การบวมโตของคอ
7.กัดฟันและยิ้มกว้างให้เห็นเหงือกเหนือฟันบนและเห็นฟันล่างเต็มที่ ควรสังเกต ริมฝีปากซีดมาก เป็นแผลที่มุมปาก มุมปากเปื่อย เหงือกบวมเป็นหนอง ฟันผุ ผิวหนังบริเวณใบหน้ามีความผิดปกติหรือมีรอยโรค
3.งอแขน พับข้อศอก ใช้นิ้วแตะเปลือกตาล่างเบาๆ ดึงเปลือกตาด้านล่างลงพร้อมกับเหลือกตาขึ้นและลง แล้วจึงกรอกตาไปด้านขวาและซ้าย ควรสังเกต ตาแดง ขี้ตา คันเคืองตา ขอบตาล่างแดงมากอักเสบ
8.อ้าปากกว้างแลบลิ้นยาวพร้อมร้อง"อา" ให้ศีรษะเอนไปข้างหลังเล็กน้อย ควรสังเกตคอแดง เจ็บคอหรือคอเป็นฝ้าขาวๆ ฟันผุ แผลแดงอักเสบบริเวณเยื่อบุจมูก มีน้ำมูก ไอ ต่อมทอนซิลโต
2.คว่ำมือ หงายมือ สังเกตเหมือนท่า1
9.นร.ญ.ให้แยกเท้าออกจากกัน 1ฟุต ใช้มือสองข้างจับกระโปรงดึงขึ้นเหนือเข่า นร.ช.แยกเท้าออกจากกัน1ฟุต
1.ยื่นมือไปข้างหน้าให้สุดแขนทั้งสองข้าง คว่ำมือกางนิ้วทุกนิ้ว สิ่งผิดปกติที่ควรสังเกต คือ เล็บ ผิวหนัง แผล ผื่น ตุ่มคัน หรือความพิการอ่ืนๆ
10.เหมือนท่า9 ให้ยืนกลับหลังแล้วให้เดินไปข้างหน้าประมาณ4-5ก้าว แล้วเดินกลับมาหาผู้ตรวจ ควรสังเกตความผิดปกติของรูปร่าง การโก่งงอของขา น่อง ความผิดปกติของฝ่าเท้า
การช่วยเหลือ
ให้คำแนะนำหรือส่งต่อในรายที่รุนแรง พร้อมติดตามผลการช่วยเหลือและดูแลต่อเนื่อง
วิธีการ
3.ขณะตรวจให้สัมภาษณ์ไปด้วย
4.ไม่ควรสัมผัสร่างกายของนร. หากต้องสัมผัสให้ล้างมือหลังสัมผัส
2.ผู้ตรวจควรหันหลังให้แสงสว่าง นร.ยืนหันหน้าเข้าหา ยืนห่างประมาณ2ฟุต
5.ในการตรวจร่างกายต้องพิจารณานน.สส. ผลการทดสอบสายตา การได้ยินและผลการตรวจสุขภาพปากและฟันประกอบไปด้วยทุกครั้ง
1.ให้นร.ถอดรองเท้าและถุงเท้า นร.ช.ให้ถอดเสื้อออกด้วย นร.ญ.ปลดกระดุมเม็ดบน
อนามัยสลว.ในร.ร.
สถานที่ตั้ง
ไกลจากเสียงรบกวน
ห่างไกลจากแหล่งทิ้งขยะและแหล่งน้ำโสโครกอย่างน้อย500m
ไม่ควรห่างจากย่านชุมชนเกิน2m
อาคารเรียน
เนื้อที่ไม่น้อยกว่า1.5ตร.ม : นร.1คน
แข็งแรง ปลอดภัย
พื้นที่ใช้สอยและอุปกรณ์เครื่องใช้
ห้องเรียน
ครูเดินหานร.ทั่วถึง
สะอาด
ห้องพยาบาล
ครู/พยาบาลหยิบยาให้นร.
โรงอาหารและโรงครัว
สะอาด ไม่อยู่ใกล้สิ่งปฏิกูล
สนาม
ส้วม
สะอาด เพียงพอและปลอดภัย
ช. 1:50
ญ.2:50
การระบายอากาศ แสงสว่างและเสียง
น้ำดื่ม-น้ำใช้
การจัดการขยะ
แยกประเภทขยะก่อนทิ้ง
การจัดการน้ำเสีย
มีถังดักไขมัน
ระบายน้ำเสียลงบ่อรับน้ำเสีย บำบัดก่อนปล่อยสู้สาธารณะ
การควบคุมและกำจัดแมลง สัตว์พาหะนำโรค
สภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในร.ร.
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
คุณลักษณะ
ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพร่วมกับครอบครัวและชุมชนที่เกี่ยวข้องกับร.ร.
จัดสวล.ที่เอื้อต่อสุขภาพและความปลอดภัย
จัดให้มีการสอนสุขศึกษา
จัดให้เข้าถึงบริการสุขภาพ
ดำเนิการตามนโยบายและข้อปฏิบัตินการสา่งเสริมสุขภาพเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ
ความพยายามในการปรับปรุงสุขภาพอนามัยของชุมชน มุ่งเน้น ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผปค.และชุมชน
องค์ประกอบ
ด้านการส่งเสริมสุขภาพ
สุขศึกษาในร.ร.
โครงการร่วมระหว่างร.ร.และชุมชน
โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย
การออกกำลังกาย กีฬา สันทนาการ
บริการอนามัยร.ร.
เพื่อให้นร.ได้รับการตรวจสุขภาพ เฝ้าระวังภาวะสุขภาพ การป้องกันโรคและการรักษาพยาบาลเบื้องต้นจากครูและจนท.สาธาฯ
การให้คำปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม
การส่งเสริมสุขภาพบุคคลากรในร.ร.
การจัดสวล.ในร.ร.ที่เอื้อต่อสุขภาพ
ด้านกระบวนการ
นโยบายส่งเสริมสุขภาพ
การบริหารจัดการในร.ร.
บทบาทพยาบาลชุมชน
เป็นคณะกรรมการส่งเสริมคุณภาพร.ร. ทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ
ประสานงานและให้ความร่วมมือกับหน่อยงานที่เกี่ยวข้อง
สนับสนุนวิชาการ
ส่งเสริมสนับสนุนให้ร.ร.กับชุมชนทำงานร่วมกัน
จัดอบรมแกนนำนร.ด้านสุขภาพทดแทนรุ่นพี่ที่จบออกไปแล้ว
ติดตามประเมินผล รวบรวมข้อมูลการดำเนินงาน
การประกาศรับรองว่าเป็นร.ร.ส่งเสริมสุขภาพ
ระดับทองแดง
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก 4 องค์ประกอบ
ผ่านตัวชี้วัดทุกตัว ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีใน 6 องค์ประกอบที่เหลือ
ระดับเงิน
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก 6 องค์ประกอบ
ผ่านตัวชี้วัดทุกตัว ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีใน 4 องค์ประกอบที่เหลือ
ระดับทอง
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก 8 องค์ประกอบ
ผ่านตัวชี้วัดทุกตัว ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีใน 2 องค์ประกอบที่เหลือ
ระดับเพชร
การรับรองมีอายุ 3 ปี นับจากวันที่ระบุไว้ในใบประกาศเกียรติคุณ
นางสาวสุวิมล ชมภูพื้น รหัสนักศึกษา 600972