Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มภร.10/2 Dx.CKD.volume overload - Coggle Diagram
มภร.10/2
Dx.CKD.volume overload
General. Appearance
ผู้ป่วยหญิงไทย วัยสูงอายุ ผมสีดำทอง ผิวขาวเหลือง รูปร่างท้วม รู้สึกตัวดี ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
หายใจ room air พูดได้แต่มีอาการเหนื่อยทำตามคำสั่งได้บ้าง Neurological signs = E4M5V5 pupil 2mm reaction to light. Motor power แขนขวา grade 3 แขน ซ้าย grade 3 ขาทั้งสองข้าง grade 3 รับประทานอาหารธรรมดา(ลดเค็มและหวาน) on injection plug ที่มือขวาปัสสาวะได้ด้วยตัวเอง ปัสสาวะสีเหลืองใส ถ่ายอุจจาระเหลวเขียวขี้ม้า
การช้กประวัติและการตรวจร่างกายตามระบบ
ระบบขับถ่าย
ผู้ป่วย off foley's catheteเมื่อวันที่ 25 มค.2664
ปัสสาวะสีเหลืองใส อุจจาระเหลวสีเขียวขี้ม้า
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวเองได้บ้าง Motor powerแขนขวา grade 3 แขนซ้าย grade 4 ขาทั้งสองข้าง grade 2
ระบบหายใจ
ผู้ป่วยหายใจ room air ลักษณะภายนอกปกติ ผู้ป่วยหายใจ 20 ครั้ง/นาที
O2 sat 100% มีอาการหอบเหนื่อย
ระบบผิวหนัง
ผิวขาวเหลือง ความตึงตัวของผิวหนังน้อย (poor skin
turbot ผิวหนังไม่ชุ่มชื้น มีจ้ำเลือดที่มือซ้าย ตาม
ร่างกายมี ecchymosis และ no jaundice)
ระบบตา จมูก หู คอ
ตา : ไม่บวม ไม่มี discharge ตาสีดำ
sclera สีขาว หลับตาได้สนิท
จมูก : จมูกรูปร่งปกติ ไม่บวม ไม่กดเจ็บ
หู : หูสองข้างสมมาตร การได้ยินปกติ
คอ : คลำแล้วไม่พบก้อนโต Teachea
อยู่ในแนว middle line
ระบบย่อยอาหาร
รับประทานอาหารได้เอง แต่ต้องมีผู้ช่วย
ป้อนอาหาร เป็นอาหารธรรมดา (ลดเค็ม และหวาน)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ความดันโลหิต 148/74 mmHg
Pulse 74 ครั้ง/นาที ไม่มี murmur
ระบบประสาท
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี consciousness อยู่ในระดับ confusion Glasgow coma score = E4M5V5 Motor power แขน ขวา grade 3 แขนซ้าย grade 4 ขาทั้งสองข้าง grade 2
ข้อมูลพื้นฐาน
ประวัติการปัจจุบัน : 10 วันก่อนมารพ. ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อย ท้องเสียญาติดูแลตามอาการ อาการดีขึ้น จึงไม่ยอมมารพ. 8 วันก่อนมารพ. ยังคงมีอาการเหนื่อย ไม่มีขาบวม นอนราบไม่ได้ จึงมาพบแพทย์ วันที่ 18/1/64 แพทย์ให้กลับบ้าน 2 ชั่วโมงก่อนมารพ. อาการไม่ดีขึ้น ขาบวมหนังตาบวมมีท้องเสีย 4 ครั้ง ญาติจึงพามารพ.
ประวัติการใช้สารเสพติด :
ปฏิเสธการสูบบุหรี่และสิ่งเสพติด
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : ไม่มี
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 78 ปี
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
Diabetes mellitus 40 ปี
Hypertension 40 ปี
Ischemic
CKD volume overload 2ปี
ประวัติการผ่าตัด : ไม่มี
พยาธิสภของโรค
ตามทฤษฎี
กลไกการเกิดโรคไตเรื้อรัง
ภาวะที่ไตมีความผิดปกติทางโครงสร้างทำให้มีการทำลาย
เนื้อไต จนมีการสูญเสียหน้ที่ของไตอย่างถาวร โดยที่อัตรา การกรองของไต(glomerular filtration rate ;GFR) อาจ
ปกติหรือผิดปกติก็ได้ หรือถ้า GFR ต่ำกว่า 60 ml/min/1.73 m2 ติดต่อกันนานกว่า 3 เดือน ก็ถือว่าเป็น และสาเหตุของโรคที่พบบ่อยที่สุดคือ โรคเบาหวาน รองลงมาคือโรคความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้น้อย
มีอาการหอบเหนื่อย เนื่องจากมีประสิทธิภาพของปอดลดลง
เพราะพบ Crepitation both lung และค่า GFR 5.66 mLmin/1.73 m2 ซึ่งผู้ป่วยมีโรค ประจำตัวเป็นโรคเบาหวาน โรคความดัน
โลหิตสูง
การวินิจฉัยและการแบ่งระยะ
ระยะของโรคไตเรื้อรังมี 5 ระยะ ดังนี้
ระยะที่ 1 คือ ระยะที่อัตราการกรองของไตของผู้ป่วย มากกว่า 90 m/min/1 73 m2 การมีความผิดปกติของไต แต่คำอัตราการกรองของไตอยู่ในเกณฑ์ปกติ ระยะที่2 คือ คือ ระยะที่อัตรการกรองของไตของผู้ป่วยอยู่
ในช่วง 60 - 89 ml/min/1.73 m2 การมีความผิดปกติของ ไตและคำอัตราการกรองของไตลดลงเล็กน้อย ระยะที่ 3 คือ คือ ระยะที่อัตรการกรองของไตของผู้ป่วย อยู่ในช่วง 45 - 59 mlmin/1 73 m2 การมีความผิดปกติ
ของไตและค่ำอัตราการกรองของไตลดลงปานกลาง ระยะที่ 3b คือ คือ ระยะที่อัตรการกรองของไตของผู้ป่วย
อยู่ในช่วง 30 - 44 m/min/1 73 m2 การมีความผิดปกติ ของไตและคำอัตราการกรองของไตลดลงปานกลางถึง รุนแรง
ระยะที่ 4 คือ คือ ระะที่อัตราการกรองของไตของผู้ป่วยอยู่ ในช่วง 15 - 29 mlmin/1 73 m2 การมีความผิดปกติของ
ไตและค่อัตราการกรองของไตลดลงอย่างมาก ต้องมีการ บำบัดรักษาทดแทนไต
ระยะที่ 5 คือ คือ ระยะที่อัตราการกรองของไตของผู้ป่วยต่ำ กว่า 15 ml/min/1.73 m2 ซึ่งถือว่าเป็นระยะไตวาย
ผู้ป่วยอยู่ในระยะที่ 5 เนื่องจกอัตราการกรองของไตของผู้
ป่วย มีดเท่กับ 5.66 mlmin/1.73 m2 ซึ่งผู้ป่วยได้มีการ ทำ volume overload (การล้างไต ในช่องท้อง)
อาการและอาการแสดงของโรคไตเรื้อรัง
ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย หายใจหอบเหนื่อย มีจำเลือดตาม ตัว มีเสียง creptation มีอาการบวมกดบุ๋ม ระดับ 2 กล้าม เนื้ออ่อนแรง Motor power แขนขวา grade 3 แขนซ้าย grade 4 ขาทั้งสองข้าง grade 2 มีภาวะน้ำเกิน (hypervolumic)
อาการและอาการแสดงจะแตกต่างกันตามระยะต่างๆ โดย ระยะที่ 5 เป็นระยะไตวาย (kidney faiure) ร่างกายเสีย สมดุลน้ำและอิเล็กโทรไลต์ ผู้ป่วยมีอาการ uremia เช่น อ่อนเพลีย เบื่ออหาร ผิวแห้งดัน คลื่นไส้ อาเจียน สะอึก เป็นตะคริว เลือดเป็นกรด หายใจหอบลึก มีจำเลือดตามตัว มีเสียง crepitation บริเวณชายปอด 2 ข้างจากน้ำท่วมปอด
อาการบวม นอนไม่หลับ ด ท้องผูก กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดศีรษะ เกิดภาวะหัวใจวาย เนื่องจากภาวะน้ำเกินและความดันโลหิตสูงได้
ข้อที่2ผู้ป่วยมีภาวะน้ำเกินเนื่องจากหน้าที่ในการขับน้ำของไตลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
1ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวคือโรคเบาหวานและความดันสูง40 ปี
2ผู้ป่วยกดบุ๋ม +2
วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยไม่มีภาวะน้ำเกิน
เกณฑ์การประเมิน
อาการบวมลดลง น้ำหนักลดลง
2.มีความสมดลระหว่างน้ำที่ได้รับและขับออกจากร่างกาย
3.ไม่มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้
4.สัญญาณชีพและความดันปกติตามวัย
ระดับ keep DTX 80-180%
กิจกรรมการพยาบาล
1.จำกัดน้ำดื่ม
2.จำกัดอาหารเค็มและหวานทดแทนความหวานคือ EQUAL
3.ชั่งน้ำหนักทุกวันด้วยเครื่องชั่งอันเดิมและเวลาเดิมและบันทึกสารน้ำเข้าและออกจาก ร่างกายอย่างละเอียด เพื่อประเมินภาวะบวม
4.บันทึกสัญญาณชีพและความดันโลหิตบ่อยๆ เพื่อประเมินภาวะน้ำเกินซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะหัวใจวายน้ำท่วมปอดและความดันโลหิตสูง
5.ให้ยาขับปัสสาวะ lasix 500mg drip h 24และประเมินประสิทธิภาพของยาโดยบันทึกจำนวนปัสสาวะภายหลังจากการให้ยาว่าออกว่ามีค่า I/O Negative หรือไม่
6.สังเกตอาการเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้
ประเมินผล
ผู้ป่วยปัสสาวะได้เอง ผลเป็นI/O Negative ไม่คงที่
ไม่มีอาการหอบเหนื่อย
ข้อที่1เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนจากปอดบวมน้ำ เนื่องจากไม่สามารถขับน้ำออกได้และเกิดภาวะน้ำเกิน
ข้อมูลสนับสนุน
1.ผู้ป่วยมีอาการหอบเหนื่อย เมื่อพูดคุย
2.ค่า BUN 82.2 mg/dL
3.ค่า GFR 5.66 ml/min/1.73 m2
4.Pitting edema ระดับ2 บริเณแขนและขา
4.NT-pro BNT 4215 pg/mL
5.O2Sat =95
วัตถุประสงค์ : ป้องกันภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากปอดบวมน้ำและภาวะน้ำเกิน
เกณฑ์การประเมินผล
1.อัตราการหายใจ 16 -20 ครั้ง/นาที ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด 95 - 100%
2.ไม่พบอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน เช่น cyanosis หัวใจเต้นเร็ว สับสน เป็นต้น
3.ค่า NT-pro BNT ในอายุ>75 ปี ได้ 1800 Pg/ml
กิจกการพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนบนเตียง เพราะการพักผ่อนบนเตียงจะช่วยลดการใช้ออกซิเจนในการทำกิจกรรม ทำให้อาการเหนื่อยอ่อนเพลียลดลง
จัดท่านอนศีรษะสูงเพราะทำใหกระบังลมเคลื่อนต่ำลงปอดขยายตัวได้เต็มที่มีพื้นท่ีในการแลกเปลี่ยนก๊าซมากข้ึน
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ประเมินอัตราการหายใจ ชีพจร สีของเล็บ ปลายมือปลายเท้าเยื่อบุผิวหนังลักษณะการซีด เขียว เพราะอาการหายใจหอบ ชีพจรเร็ว ปลายมือปลายเท้าเยื่อบุลักษณะการซีด เขียว แสดงถึงภาวะพร่องออกซิเจน เพื่อรายงานแพทยพ์พิจารณาการให้ออกซิเจน
4.ติดตามผล lab Hb, Hct และ Chest X-Ray เพราะเป็นค่าท่ีแสดงถึงความเข้มข้นของเลือดในร่างกายและ Chest X-ray เป็นการประเมินความก้าวหน้า ของการรักษาซึ่งอาจพบฝ้าขาวในปอดลดลงหรือเพิ่มข้ึน
เช่น ได้แก่ ค่า ค่า NT-pro BNT ในอายุ >75 ปี ได้ 1800 Pg/ml
5.บันทึกสารน้ำเข้าออกทุก 8ชั่วโมง
ประเมิผล ผู้ป่วยหายใจสะดวกไม่มีหอบเหนื่อย
ข้อที่ 3 ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเนื่องจากถูกจำกัดกิจกรรม
ข้อมูลสนับสนุน
1ผู้ป่วยบอกว่าอยากกลับขอโทรหาลูกสาวได้ไหม
2.ผู้ป่วยบอกว่านอนไม่หลับขอยานอนหลับ
2ผู้ป่วยมีอาการซึมลง
วัตถุประสงค์
1เพื่อให้ผู้ป่วยคลายกังวลต่อการจำกัดกิจกรรม
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวลน้อยลง ร่วมมือในการจัดกิจกรรมที่จัดให้ ยิ้มแย้มแจ่มใส
ผู้ป่วยและญาติเข้าใจเหตุผลของการจำกัดกิจกรรม
กิจกรรการพยาบาล
1.ให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยชวนผู้ป่วยพูดคุย
อธิบายให้ญาติและผู้ป่วยเห็นความสำคัญของการจำกัดกิจกรรมว่าอาจเกิดการพลัดตกหกล้มได้
3.จัดกิจกรรมการเล่นที่ไม่ตื่นเต้นและใช้กำลังมากเพื่อให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลโดยอาจจัดกิจกรรมที่เตียง เช่นเล่าเรื่อง ให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วม
ประเมินผล
เมื่อผู้ป่วยทราบว่าได้กลับบ้านจึงมีสีหน้าที่ดีขึ้น
LAB
23/01/2564
Sodium 135mmol/L
ต่ำ
เกิดอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงเป็นตะคริว ภาวะที่มีเกลือโซเดียม ซึม ชัก
Potassium 3.31
ต่ำ
มือสั่น ชา ท้องผูก เบื่ออาการกล้ามเนื้อออ่อนแรง
Chlorine94.3mmol/L
ต่ำ
มีภาวะสะสมน้ำสูง
BUN 82.2mg/dL
สูง สูง ไตกำลังเสียหายทำหน้ที่ไม่ได้อาจเกิดไตวายเฉียบพลัน
Creatinine 6mg/dL
สูง
มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ เช่น มีนิ่ว
eGFR 5.69 mL/min
ต่ำ แผ่นกรองเริ่มจะทำงานหนัก กรองไต้ปริมาณน้อยและกรองเวลานาน
24/01/2564
Sodium 135mmol/L
ต่ำ เกิดอากรกล้ามเนื้ออ่อนแรงเป็นตะคริว ภาวะที่มีเกลือโซเดียม ซึม ชัก
หมดสติ
BUN 85.6 mmol/L
สูง ไตกำลังเสียหายหรือตกอยู่ในอันตรายจากสาเหตุสำคัญ หรือโรคร้ายแรง
eGFR
แผ่นกรองเริ่มจะทำงานหนัก กรองไต้ปริมาณน้อยและกรองเวลานาน
Creatinine 6.44mg/dL
สูง
มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ เช่น มีนิ่ว
22/01/2564
Hematocrit (Hct)
เกิดภาวะโลหิตจางเนื่องจากผลิตเม็ดเลือดน้อย
Hemoglobin 9.6 g/dL
ร่างกายผลิตเม็ดเลือดแดงน้อยกว่าปกติ เนื่องจาก ภาวะขาดสารอาหาร
RBC
ต่ำ ภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงน้อยเรียกว่าภาวะโลหิตจางการขนส่งออกซิเจนไป
22/01/2564
NT-pro BNP 4215
สูง
Hart Failure more likely (rule in)
Troponin-T 0.073
สูง
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
ยา
B-ASPIRIN EC 81 MG. TAB.
ASPIRIN 81 MG. TAB.
รับประทานครั้งละ1เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
ผลข้างเคียงและการป้องกัน/บรรเทา
ผลข้างเคียงที่พบบ่อยจากการใช้ยาแอสไพรินในข้อบ่งใช้เพื่อการต้านเกล็ดเลือด คือ ระคายเคืองทางเดินอาหาร ซึ่งสามารถป้องกันหรือบรรเทาได้โดยการรับ ประทานหลังอาหารทันที หรือรับประทายาเม็ดที่มีการเคลือบด้วยสารที่ควบคุม ให้เม็ดยาเกิดการปลดปล่อยตัวยาที่ลำไส้เล็ก (enteric-coated tablet) เพื่อลด การสัมผัสของยาและกระเพาะอาหารที่มีความเป็นกรดสูงมากอยู่แล้ว
กลไกการออกฤทธิ์ของยาแอสไพริน คือ การยับยั้งเอนไชมในร่งกายที่ทำให้เกิด สารอักเสบ ซึ่งมีชื่อว่ ไซโคลออกชิจีนส หรือเรียกชื่อเอนไชมนี้อย่างย่อๆ ว่า ค็อกซ์ (cyclooxygenase: COX) นอกจากนี้ เอนไชมดีอกซ์ (COX enzyme) ยังกระตุ้นการสร้างสารที่ทำให้เกิดการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด ที่มีชื่อว่า ทร็อมบ็อก
เชนเอทู thromboxane-A2 ดังนั้น ผลที่ได้จากการใช้ยาแอสไพริน นอกจากจะ บรรเท้าอาการอักเสบแล้ว ยังทำให้เกล็ดเลือดเกาะกลุ่มกันได้ยากมากขึ้นซึ่ง ขนาดยาที่สูงของแอสไพริน (325-650 มิลลิกรัม ต่อครั้ง) จะได้ผลดีในการ บรรเทาอากรปวดและอักสบ2-3 ส่วนขนาดยาที่ต่ำของแอสไพริน (75-150) มิลลิกรัมต่อวัน) มีผลการรักษาที่ดีในแง่ฤทธิ์ต้านเกล็ดเลือด4
ข้อบ่งใช้และขนาดยา
การใช้ยแอสไพรินมี 2 ข้อบ่งใช้ คือ ใช้ตมอการเพื่อบรรเทาอาการอักเสบ และลดไข้ และใช้เพื่อต้านการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด โดยใช้ในช่วงแรกของ
การเกิดการอุดตันหลอดเลือด และการใช้อย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันการเกิดการ อุดตันของหลอดเลือด
QUANTIA 25 MG. TAB.
QUETIAP INE 25 MG, TAB.
รับประทานครั้งละครึ่งเม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
รักษาพฤติกรรมก้วร้ว โรคอัลไชเมอร์ โรดวิตกกังวล โรคซึมเศร้า โรคสมาธิสั้น โรคเครียดหลังประสบเหตุสะเทือนใจ และอาการนอนไม่หลับ
OMEPRAZOLE CAPSULES 20 MG.(GPO)
OMEPRAZOLE 20 MG. CAP.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ดวันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเย็น
ใช้รักษาอาการกรดไหลย้อน แผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
กลไกการออกฤทธิ์ของยาโอเมพรา โชล
ยาโอเมพราโชลจะออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไชกี่เรียกว่า Hydrogen-potassium
Adenosinetriphosphatase ทำให้ลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร จึงช่วยให้อาการ
ของโรคกรดไหลย้อนและแผลในกระเพาะอหารและลำไส้ดีขึ้น
ผลข้างเคียงของยา โอเมพราโซล
อาการข้างเคียงที่ไมรุแร หากเกิดขึ้นไม่จำเป็นต้องหยุดยา แต่ควรแจ้งให้แพทย์หรือ เภสัชกรทราบ เช่น ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจี่ยน ไอ ปากแห้ง ทรงตัวลำบาก รู้สึกหน้ามืด รู้สึกหัวเบาโหวงหวง ง่วงนอนหรือง่วงซึม นอนไม่หลับ ท้องอึด ปวดท้อง ท้องเดิน ท้องเสีย หรือท้องผูก ปริมาณอนไชมในตับ (AST, ALT) สูง
INSULATARD HM 100 IU/ML. INJ. 10
( INSULIN ISOPHANE 100 IU/ML, IN)
ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง 8 ยูนิต เวลา 22.00 น.
ลดน้ำตาลในเลือด
CHLOVAS-40 TAE
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1
ATORVASTATIN 40 MC
รักษาภาวะคอเลสเตอรอลสูง ลดความเสี่ยงโรคหัวใจและโรคหลอด
เลือดสมอง
THYROSIT 100 MCG. TAB.
LEVOTHYROXINE 100 MCG. TAB.
รับประทานครั้งละ(ครึ่งเม็ดวันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหาร
เข้า และยาอื่น 1ชั่วโมง)
ใช้รักษาผู้ป่วยที่มีระดับไทรอยด์ฮอร์โมนต่ำ
FERMASIAN 200 MG. TAB.
FERROUS FUMARATE 200 MG. TAB.
รับประทานครั้งละ 1 มีด วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น
ทานยาห่างจากแคลเชียม นม ยาลดกรด อย่าน้อย 2 ชม.
VASTAREL OD 80 MG. CAP.
TRIME TAZIDINE HCL MODIFIED OD 80 MG.
CAP.
ยารักษาอาการเจ็บหนอกจกกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
FOLIC ACID 5 MG.TAB.(GPO)
FOLIC ACID 5 MG. TAB.
สำหรับผู้ที่มีภาวะขาด Folic acd, ภาวะโลหิตจางชนิด Megaloblastic
anemia, , ภาวะโลหิตจางจากการขาด Folic acid, ป้องกันภาวะ Neural
Tube Defect (NTD) ในหญิงตั้งครรภ์
Plan discharge
D=แจ้งให้ทราบถึงโรคที่เป็นอยู่คืออะไร เช่น ไตของท่านถูกทำลายและไม่สามารถกรองเลือดได้ตามปกติ และเป็นโรค “เรื้อรัง” เนื่องจากการทำลายที่ไตของท่านเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ เป็นระยะเวลานาน การทำลายนี้อาจทำให้เกิดของเสียสะสมในร่างกาย นอกจากนี้ โรคไตเรื้อรังยังเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาสุขภาพอื่น ๆ อีกด้วย
แจ้งให้ทราบถึงสาเหตุของโรค
ภาวะความดันโลหิตสูงและโรถเบาหวาน อาจเป็นสาเหตุของโรคไตหรือเป็นผลจากโรคไต ภาวะความดันโลหิตสูงทำลายไตของท่านและไตที่ถูกทำลายจะไม่สามารถทำงานเพื่อช่วยควบคุมความดันโลหิตของท่านได้
แจ้งให้ทราบถึงอาการของโรค
1 เจ็บหน้าอกผิวแห้ง
2 อาการคันหรือชา
3 รู้สึกเหนื่อยปวดศีรษะ
4 ปัสสาวะเพิ่มขึ้นหรือลดลง
5 ตะคริวที่กล้ามเนื้อ
6 คลื่นไส้อาเจียน
7 ปัญหาเกี่ยวกับการนอนหลับ
8 ไม่มีสมาธิอาเจียนน้ำหนักลด
ดังนั้นจึงควรรับประทานอาการและยาตามแผนการรักษาให้หมดและครบถ้วน
M= B CO-ED TAB. วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น
ข้อบ่งใช้ เป็นยาเสริมวิตามิน
ข้อแนะนำ # เก็บยานี้ไห้พ้นแสง #
CALTAB-1.25 TAB.
วิธีใช้ รับประทนครั้งละ ครึ่ง เม็ด วันละ 3 ครั้ง พร้อมอาหารเช้า กลางวัน เย็น
ข้อบ่งใช้ เสริมแร่ธาตุ
CHLOVAS-40 TAB
วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 เมืด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ข้อบ่งใช้ ยาลดไขมันในเลืด
คำแนะนำ ยานี้เป้นยาชนิดเดียวกับยา LIPITOR, XARATOR
FERMASIAN 200 MG. TAB.
วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า และ กลางวัน
ข้อบ่งใช้ เสริมธาตุเหล็ก อาจทำให้
อุจจาระเป็นสีดำ
คำเเนะนำ รับประทานห่างจากแคลเซี่ยม 2 ชั่วโมง
FLUOXETINE 20 MG. TAB. (FOXETIN)(GPO)
วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ข้อบ่งใช้ เป็นยาทางจิตเวช
คำแนะนำ รับประทานยาแล้ว อาจจะง่วงนอน
HEMA-PLUS 4000 IU./ 0.4 ML. INJ .PFS
วิธีใช้ 4000 unit SC สัปดาห์เว้นสัปดาห์ (วันพฤหัส)
ข้องบ่งใช้ รักษาภาวะโลหิตจางในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง
คำแนะนำ เก็บยาในตู้เย็นที่ไม่ใช่ช่องเเช่เเข็ง
ห้ามเขย่า
LORAZEP 1 MG. TAB.
วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 มืด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ข้อบ่งใช้ ยาทางจิตเวช/ระบบประสาท (เก็บยาให้พ้นแสง)
คำแนะนำ ยานี้ทำให้ง่วงนอน ระวังพลัดตกหกล้ม
FOLIC ACID 5 MG. TAB. (GPO)
วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ข้อบ่งใช้ เป็นยาวิตามิน
คำแนะนำ
เก็บให้พ้นแสง
CLOPIDOGREL BISULFATE 75 MG,TAB.
วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหาร เช้า
ข้อบ่งใช้ ยาต้านกานเกาะกลุ่มเลือด
คำแนะนำ APLOET 75 MG.TAB.
FEMIDE 50C MG. TAB.
วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1 เด วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า และ กลางวัน
ข้อบ่งใช้ เป็นยาขับปัสสาวะ
คำแนะนำ
เก็บยานี้ให้พ้นแสง
NOVOMIX 30 PENFILL 3 ML.
วิธใช้ ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ก่อนอาหาร เช้า 24 ยูนิต เย็น 22 ยูนิต
ข้อบ่งใช้ ยาเบาหวาน (High Alert Drug ห้ามให้ IV)
คำแนะนำ เก็บยาในตู้เย็น ไม่ใส่ช่องแซ่แข็ง
OMEPRAZOLE CAPSULES 20 MG,
(GPO)
วิธีใช้
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหาร เย็น
ข้อบ่งใช้ ยาป้องกันรักษาแผลในทางเดินอาหารรักษาโรคกรดไหลย้อน
คำแนะนำ รับประทานยานี้ "ก่อน"อาหาร ประมาณ 30 นาที
SENOLAX TAB.
วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 เมืด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ข้อบ่งใช้ รักษาอาการท้องผูก
คำแนะนำ ยาชนิดนี้ เป็นยาชนิดเดียวกันกับยา Senokot
THYROSIT 100 MCG. TAB.
วิธีใช้ รับประทานครั้งละครึ่งเม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า
ข้อบ่งใช้ ยาไทรอยด์ (รับประทานยานี้เวลาท้องว่างเท่านั้น)
คำแนะนำเก็บให้พ้นแสง (ยานี้เป็นยาเดียวกับ EUTHYROX, ELTROXIN)
VASTAREL OD 80 MG. CAP.
วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 1เม็ด วันละ 1 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า
ข้อบ่งใช้ ยาโรถหัวใจ
คำแนะนำ ทดแทน Vastarel MR 35 MG
โดยทานวันละ 1 ครั้ง
E= อากาศถ่ายเทสะดวกไม่ชื้น เปิดหน้าต่างและทำความสะอาดบ้านหรือห้องให้สะอาดไม่มีฝุ่น จัดสิ่งของใว้ใกล้ตัวผู้ป่วยเพื่อหยิบจับได้ง่าย ไม่เสียงดังเพื่อให้ผู้ป่วยพักผ่อนได้อย่างเต็มที่
T=เข้าใจเป้าหมายในการรักษาโรคและมีทักษะที่จำเป็นในการปฎิบัติตัวตามแผนการรักษา เฝ้าระวังสังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นเเละสามารถแก้ไข้สถานการณ์ฉุกเฉินได้ เช่นหายใจหอบเหนื่อย บวมขึ้น ควรรีบพบเเพทย์
H=ส่งเสริมสภาพจิตใจโดยให้ญาติมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกันต่างๆ เช่นพาไปเที่ยว รับประทานอาหารพร้อมหน้าพร้อมตา
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
O=การมาตรวจตรวจตามนัดที่แพทย์ได้สั่ง เพื่อติดตามอาการหากมีอาการฉุกเฉินให้เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน หรือที่เกิดเหตุ
D= 1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และให้ได้สัดส่วนที่เหมาะสม ได้แก่ ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์ ไขมัน ผัก และผลไม้
รับประทานอาหารให้ร่างกายได้รับพลังงานอย่างเพียงพอ 1500-2000 กิโลแคลอรี่ต่อวัน ควรรับประทานข้าวสวยประมาณ 2 ทัพพีต่อมื้อ ถ้าเป็นข้าวเหนียว 1 ปั้นหลวม ๆ หรือเส้น
รับประทานโปรตีน คือนื้อสัตว์ต่าง ๆ ไขาว ประมาณ 1.2 กรัมต่อกิโลกรัมต่อวัน
ผักและผลไม้อาจให้ลดหรืองดการรับประทานผักและผลไม้เมื่อตรวจพบระดับPotassium ในเลือดสูง
5.หลีกเลี่ยงอาหารรสจัดเช่น เค็มและหวาน