Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5ระบบหายใจ - Coggle Diagram
บทที่5ระบบหายใจ
การพยาบาล
การจัดการปัญหาการลดลงของปริมาตรปอด
การฝึกหายใจ
การเคลื่อนไหวลำตัวและทรวงอกร่วมกับการหายใจลึก
การจัดท่า
การจัดการปัญหาคั่งค้างของเสมหะ
การฝึกไอ
การจัดท่าระบายเสมหะ
การจัดการปัญหาการเพิ่มงานของการหายใจ
การจัดท่า
การฝึกควบคุมอัตราและจังหวะการหายใจ
จัดการสิ่งแวดล้อม แนะนำหลีกเลี่ยงการอยู่ในที่มีมลพิษ ควัน ฝุ่น หรือกลุ่มคนแออัด
แนะนำการได้รับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
แนะนำให้หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่้ ส่งเสริมการเลิกบุหรีด้วยเข้ารับคำปรึกษาที่คลินิกเลิกบุหรี่
แนะนำควรตรวจสุขภาพปอดอย่างน้อยปีละครั้ง
ทางเดินหายใจส่วนล่าง(Lower respiratory tract)
ผนังทรวงอก
กระดูกอ่อนของซี่โครงมีแคลเซียมหรือหินปูนมาสะสมมากขึ้นบริเวณข้อต่อระหว่างซี่โครง มวลกระดูกบาง การเสื่อมของหมอนรองกระดูกสันหลัง หลังค่อม
กล้ามเนื้อหายใจ
การลดลงของพื้นที่หน้าตัดของกลุ่มกล้ามเนื้อยึดกระดูกซี่โครงโดยเฉพาะกล้ามเนื้อยึดกระดูกซี่โครงชั้นในสุด
สาเหตุของภาวะถดถอยของกล้ามเนื้อหายใจ อาจเกิดจากการฝ่อลีบและสูญเสียใยกล้ามเนื้อชนิดหดตัวเร็ว การเสื่อมสภาพของเยื่อหุ้มไมอีลินของเส้นประสาทฟรีนิก
หลอดลม
กลไกการเสื่อมถอยของหลอดลม การสะสมของแคลเซียมและการเชื่อมตามขวางมีผลให้การยืดขยายของหลอดลมลดลงการขับสิ่งแปลกปลอมขาดประสิทธิภาพ
ถุงลม
เนื่อเยื่อเกี่ยวพันหรือเส้นไยอิลาสติน ที่ห่อหุ้มถุงลมลดลง/เสื่อมสภาพไปการยืดขยายถุงลมลดลง
หลอดเลือดปอด
พบการหนาตัว และสูญเสียความยืดหยุ่น ของหลอดเลืดแดงในปอด จากการสะสมเส้นไยของคอลลาเจนที่มีความยืดหยุ่นต่ำบริเวณผิวหนังหลอดเลือดชั้นกลาง การเพิ่มของพังผืด และการสะสมพลาคภายในผนังหลอดเลือดชั้นใน
ปอด
Lung compliance ลดลงปอดยืดขยายตัวและหดตัวได้ลดลง เนื่องจากเนื้อปอดมีเส้นไยอีลาสตินลดลง คุณภาพการหายใจลดลง
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของระบบหายใจ(physiological changes of respiratory system)
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจ(respiratory muscle strength)
แรงต้านทานต่อการไหลของอากาศ(airway reistance)
ปริมาตรและความจุปอด(Lung volume and capacity)
Total Lung Capacity(TLC)
Vital Capacity(VC)
Function Residual Capacity(FRC)
Inpiratory capasity(IC)
สมดุลการระบายอากาศและการเปลี่ยนแก๊ส(ventilation-perfusion ratio)
การควบคุมการหายใจ(control of breathing)
กลไกการป้องกันตัวเองของทางเดินหายใจ(pulmonary defense mechanism)
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงตามวัยต่อผู้สูงอายุ
1.คอแห้งและเจ็บคอภายหลังการนอนหลับ
2.อันตรายจากการได้รับกลิ่นลดลง
4.เกิดอาการสำลักอาหารได้ง่ายเนื่องจากกล่องเสียงปิดไม่สนิท
3.เกิดการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจได้ง่าย
5.ประสิทธิภาพการทำงานของปอดลดลง
6.ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันลดลงเพราะเหนื่อยง่าย
ทางเดินหายใจส่วนบน(upper respiratory tract)
ขนโบกพัด(cilia)
เสื่อมหน้าที่ลงตลอดทางเดินหายใจกลไกขจัดสิ่งแปลกปลอมหรือฝุ่นละอองต่างๆลดลง(cough reflex)ประสิทธิภาพในการไอขับเสมหะลดลง ทำให้เกิดการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจได้ง่าย
คอหอย(pharyngeal)
พบการบางลงของผนังด้านหลังของคอหอย ทำให้โครงสร้างหลังโพรงจมูกเกิดการตีบแคบ มีการหดตัวของกล้ามเนื้อเจนิโอกลอสซัส
ปลายจมูก
ปลายจมูกงุ้มลง เนื่องจากConnective tissue)จะมีการเสื่อมลงจึงทำให้ผนังกั้นโพรงจมูกถูกดึงรั้งเข้าด้านในและปลายจมูกงุ้ม