Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน
พฤติกรรมสุขภาพของเด็กวัยเรียน
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
พฤติกรรมการออกกำลังกาย
พฤติกรรมการผ่อนคลาย
ปัญหาสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ปัญหาโภชนาการ
โรคติดเชื้อ
โรคผิวหนัง
ปัญหาสุขภาพช่องปาก
ความผิดปกติของสายตา
อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ
การใช้สารเสพติด
ปัญหาด้านจิตใจ อารมณ์ และพฤติกรรม
ปัญหาอื่นๆ
เพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
เด็กติดเกมส์
เล่นการพนัน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพเด็กวัยเรียน
ด้านตัวเด็ก
วัย
พันธุกรรม
เพศ
พฤติกรรมสุขภาพ
ด้านครอบครัว
การอบรมเลี้ยงดู
สัมพันธภาพและบรรยากาศของครอบครัว
พฤติกรรมสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว
ระดับการศึกษา และฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว
ด้านสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพและชีวภาพ
สิ่งปวดล้อมด้านสังคม
ด้านระบบบริการสุขภาพ
งานอนามัยโรงเรียน
บทบาทหน้าที่พยาบาลชุมชนในงานอนามัยโรงเรียน
การสร้างเสริมสุขภาพ
การตรวจสุขภาพนักเรียน
การให้ความรู้เรื่องการตรวจสุขภาพนักเรียน
การลงบันทึกบัตรสุขภาพนักเรียน
การส่งเสริมการออกกำลังกาย
การป้องกันโรค
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
การรักษาพยาบาลนักเรียนที่เจ็บป่วย
ต้องรักษานักเรียนที่เจ็บป่วยทุกโรคที่สามารถรักษาได้ แต่ถ้ารักษาไม่ได้ต้องส่งต่อ
การฟื้นฟูสภาพนักเรียน
ต้องช่วยเหลือเพื่อให้นักเรียนสามารถปรับตัวและคงไว้ซึ่งการทำงานของร่างกาย
ขั้นตอนการดำเนินงานอนามัยโรงเรียน
การประเมินสภาวะสุขภาพอนามัยของนักเรียน
การตรวจสุขภาพของนักเรียน
การตรวจสุขภาพของนักเรียน
การตรวจสุขภาพโดยผู้ปกครอง
การตรวจสุขภาพโดยครู
การตรวจสุขภาพโดยแพทย์
การตรวจสุขภาพโดยทันตแพทย์
การตรวจสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
การตรวจสุขภาพด้วยตนเอง
ป.5-6
แบบสำรวจความสะอาดของร่างกายและเสื้อผ้า
แบบสำรวจโรคหรือความผิดปกติของร่างกาย
แบบสำรวจภาวะสายตาและการได้ยิน
แบบสำรวจภาวะการเจริญเติบโต
แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย
แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ม.1-6
แบบสำรวจภาวะสายตาและการได้ยิน
แบบสำรวจภาวะการเจริญเติบโต
แบบประเมินความสุข
แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย
แบบแระเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
แบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องอุบัติเหตุ
การสำรวจอนามัยสิ่งแวดล้อม
การประเมินสภาวะแวดล้อมของโรงเรียน
แบบสำรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
แบบสำรวจสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน
การวางแผนแก้ปัญหา
การประสานงาน
การประชุมครู
การประชุมผู้ปกครอง
การปฏิบัติงานตามแผน
จัดทำโครงการแก้ไขปัญหา จะเน้นทักษะการปฏิบัติ การสร้างเจตคติ การให้ความรู้ โดยขึ้นอยู่กับวัยของเด็ก
การประเมินผล
การประเมินผลทำให้ทราบถึงความก้าวหน้า ผลสำเร็จของงาน และปรับปรุงการดำเนินงานในครั้งต่อไปให้สมบูรณ์และเหมาะสมขึ้น
การตรวจสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน
ขั้นตอนการตรวจสุขภาพ
วางแผนการตรวจสุขภาพ
จัดเตรียมอุปกรณ์ในการตรวจสุขภาพ
การดำเนินการตรวจสุขภาพ
การติดตามผลการช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ
การประเมินการเจริญเติบโต
ภาวะการเจริญเติบโตดี
ส่วนสูงตามเกณฑ์อยู่ในเกณฑ์ดี
น้ำหนักตามเกณฑ์ ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์ดี
ภาวะการเจริญเติบโตไม่ดี
น้ำหนักมากกว่าเกณฑ์
น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์
การตรวจสายตานักเรียน
การตรวจการได้ยิน
การตรวจร่างกายทั่วไป 10 ท่า
อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
9 องค์ประกอบ
สถานที่ตั้ง
อาคารเรียน
พื้นที่ใช้สอยและอุปกรณ์เครื่องใช้
ห้องเรียนและเครื่องใช้ในห้องเรียน
ห้องปฐมพยาบาล ยาและข้อควรระวังในการใช้ยา
โรงอาหารและโรงครัว
สนาม
ส้วมและที่ปัสสาวะ
การระบายอากาศ แสงสว่างและเสียง
น้ำดื่ม - น้ำใช้
การจัดการขยะ
การจัดการน้ำเสีย
การควบคุมและกำจัดแมลง สัตว์พาหะนำโรค
สภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในโรงเรียน
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
แนวคิด
สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ดูแลเอาใจใส่สุขภาพของตนเองและผู้อื่น ตัดสินใจและควบคุมสภาวการณ์และสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
คุณลักษณะของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
WHO
ส่งเสริมสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ด้านการศึกษาและสาธารณสุข ครู สหภาพครู นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้นำชุมขน มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพร่วมกัน
ครอบครัวและกลุ่มในชุมชนที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน
องค์กรที่ให้บริการในชุมชนที่เชื่อมโยงกับโรงเรียน
ใช้ความพยายามในการจัดให้มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพและความปลอดภัย
การจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและทางสังคม
ปราศจากความทารุณโหดร้าย
มีบรรยากาศที่เอื้ออาทร เขื่อมั่น เคารพซึ่งกันและกัน
สนับสนุนความต้องการทั้งทางร่ายกาย จิตใจ และอารมณ์
มีสนามเด็กเล่นที่ปลอดภัย
6 ประการ
ส่งเสริมสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ด้านการศึกษาและสาธารณสุข ครู นักเรียน และผู้นำชุมขน มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพร่วมกับครอบครัวและชุมชนที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน
ใช้ความพยายามในการจัดให้มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพและความปลอดภัย การจัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและทางสังคม ปราศจากความทารุณโหดร้าย มีบรรยากาศที่เอื้ออาทร เขื่อมั่น เคารพซึ่งกันและกัน สนับสนุนความต้องการทั้งทางร่ายกาย จิตใจ และอารมณ์ มีสนามเด็กเล่นที่ปลอดภัย
จัดให้มีการสอนสุขศึกษา
จัดให้เข้าถึงบริการสุขภาพที่ให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพที่ดีที่สุดในโรงเรียน
ดำเนินการตามแผนนโยบายและข้อปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพ
ความพยายามในการปรับปรุงสุขอนามัยของชุมชน
ขั้นตอนสู่โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
สร้างความสนับสนุนของชุมชนและท้องถิ่น
จัดตั้งคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน
จัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา
วิเคราะห์สถานการณ์
กำหนดจุดเริ่มต้นในการทำงาน
จัดทำแผนปฏิบัติการ
ติดตามและประเมินผล
พัฒนาเครือข่ายระดับท้องถิ่น
องค์ประกอบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
WHO 10 องค์ประกอบ
School Policies
School Management Practices
School/Community Projects
Health School Environment
School Health Service
ประถมศึกษา
การตรวจสุขภาพนักเรียน
การเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ
การจัดบริการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
มัธยมศึกษา
โรงเรียน/ครูที่ปรึกษาติดตามทวงถามแบบบันทึกสุขภาพด้วยตนเอง จากนักเรียนที่เข้าใหม่ทุกคน
ทุกต้นเทอม ครูอนามัยประสานงานกับครูที่ปรึกษาเพื่อให้นักเรียนตรวจสุขภาพตนเองตามรายการที่ระบุไว้ในแบบบันทึก
ครูอนามัยประสานงานกับครูที่ปรึกษาเพื่อให้นักเรียนทุกคนได้ทดสอบสายตาตนเองอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ซึ่งสามารถทำไปพร้อมๆ กับการตรวจสุขภาพตนเอง
ครูอนามัยควรมอบหมายหน้าที่ต่างๆ ให้นักเรียนแกนนำด้านสุขภาพที่ได้รับการอบรม
จัดหายาและเวชภัณฑ์ที่จำเป็นสำหรับห้องพยาบาลให้เพียงพอ
ครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษาส่งต่อนักเรียนที่เจ็บป่วย
ครูอนามัย/ครูพยาบาลให้การดูแลรักษาเบื้องต้นแก่นักเรียนและบุคลากรที่เจ็บป่วย และส่งต่อหากเกินขอบเขต
School Health Education
Nutrition/Food Safety
Physical Exercise, Sport, Recreation
Couseling/Social Support
Health Promotion for Staff
บทบาทพยาบาลชุมชนในการสนับสนุนเพื่อพัฒนาสู่โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ร่วมเป็นคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน
ประสานงานและให้ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการดำเนินงานตามโครงการด้านสุขภาพของโรงเรียน
จัดสนับสนุนวิชาการ
ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนและชุมชนทำงานร่วมกัน
จัดอบรมแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพทดแทนรุ่นที่จบไป
ติดตามประเมินผล รวบรวมข้อมูลการดำเนินงาน
ประโยชน์ที่ได้รับ
โรงเรียนได้รับรู้แนวทางการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน ขยายผลสู่ชุมชน
นักเรียนได้เรียนรู้วิถีชีวิตในการสร้างพฤติกรรม สู่ "ดี เก่ง มีสุข"
ครู ผู้ปกครอง และสมาชิกทุกคนได้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยเพื่อนำไปปฏิบัติ
ตัวชี้วัดของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพความสอดคล้องกับตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพการศึกษา
โรงเรียนมีโอกาสได้รับความร่วมมือและช่วยเหลือจากชุมชน องค์กรต่างๆ เพิ่มขึ้น
การประกาศรับรองเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ระดับทองแดง
ระดับเงิน
ระดับทอง
ระดับเพชร
เน้นการวัดผลลัพธ์ด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน และผลการดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ