Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย :silhouette: - Coggle Diagram
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
:silhouette:
วัตถุประสงค์
อธิบายถึงเรื่องคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ ความเที่ยงตรง ความเชื่อมั่น ความยาก และ อำนาจการจำแนก
อธิบายถึงวิธีการใช้ในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในด้านต่อไปนี้คือ ความเที่ยงตรง ความเชื่อมั่น ความยาก และ อำนาจการจำแนก
สามารถเลือกใช้วิธีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมืเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลต้องมีการตรวจสอบคุณภาพที่สำคัญๆ 4 ประการคือ :check:
ความเที่ยงตรง
ความเชื่อมั่น
ความยาก
อำนาจการจำแนก
ความเที่ยงตรง
(Validity)
หมายถึง คุณภาพของเครื่องมือที่สามารถวัดได้ตามสิ่งที่ต้องการวัด หรือสามารถวัดได้ตามจุดมุ่งหมาย จำแนกได้เป็น 4 หัวข้อดังนี้ :tada:
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ข้อคำถามหรือข้อความแต่ละข้อ และรวมทุกข้อเป็นเครื่องมือทั้งชุด ถามได้ถามตรงและครอบคุม เนื้อหาตรงตามที่ต้องการวัด
ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง วัดได้ตรงตามทฤษฎี หรือแนวคิดเรื่องราวนั้นๆ
ความเที่ยงตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์ แบ่งประเภทย่อยคือ
ความเที่ยงตรง เชิงสภาพ ตรงกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน
ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ ตรงกับสภาพความเป็นจริงในอนาคต
การตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือ :star:
ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ เป็นการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์นั้นๆโดยมีเกณฑ์ในการพิจารณาให้คะแนน คือ :lock:
+1 เมื่อแน่ใจว่าข้อคำถามสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อคำถามมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือไม่
-1 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อคำถามไม่มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ข้อใดที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไปถือว่าคำถามข้อนั้นใช้ได้
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา Conoent Validity :check:
เนื้อหาสาระ/จุดประสงค์ :
ข้อมูลเชิงประจักษ์/ตรรกะ
การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
1.วิธีการตรวจสอบความเที่ยงตรงของแบบทดสอบแบบอิงกลุุ่ม
วิธีที่ 1 จาการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชานั้นๆ โดยใช้ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับจุดประสงค์ (Index of item - Object Congruence IOC ที่มีเกณฑ์พิจารณาให้คะแนนดังนี้
ให้ +1 คะแนน เมื่อแน่ใจว่าข้อคำถามสอดคล้องกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์
0 คะแนน เมื่อไม่แน่ว่าข้อคำถามมีความสอดคล้องกับเนื้อและวัตถุประสงค์
1 คะแนน เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อคำถามไม่มีความสอดคล้องกับเนื้อหาและจุดประสงค์
องค์ประกอบที่มีผลต่อความเที่ยงตรง :explode:
1.องค์ประกอบจากเครื่องมือวิจัย จะต้องมีกระบวนการและคำชี้แจงที่ชัดเจน
2.องค์ประกอบจากการบริหารจัดการและตรวจให้คะแนน
3.องค์ประกอบจากผู้ให้ข้อมูล กลุ่มผู้ให้ข้อมูลต้องมีความแตกต่างกัน
4.องค์ประกอบจากเกณฑ์ที่ใช้อ้างอิง
ความเชื่อมั่น
:check:
ไม่ว่าจะวัดกี่ครั้ง หรือวัดในสภาพการณ์ที่แตกต่างกัน จะได้รับผลการวัดคงเดิม
วิธีการประมาณความเชื่อมั่น
1.เชื่อมั่นแบบวัดความคงที่ ( Test- retest )
2.ความเชื่อมั่นแบบสมมูล ( Parallel )
3.ความเชื่อมั่นแบบวัดความคงที่และสมมูลกัน (Test- retest and Parallel )
4.ความเชื่อมั่นแบบวัดความสอดคล้องภายใน
วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค
วิธีแบ่งครึ่งแบบทดสอบ
วิธีของคูเออร์ - ริชาร์จสัน
วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนของฮอยท์
การหาความเชื่อมั่นของการสังเกตและสัมภาษณ์
องค์ประกอบที่มีผลต่อความเชื่อมั่น
ความเอกพันธ์ของกลุ่มให้ข้อมูล
ความยาวของการทดสอบ
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อสอบ
กำหนดเวลาที่ใช้ในการทดสอบ
วิธีการที่ใช้ในการประมาณค่าสัมประสิทธิ์เชื่อมั่น
แนวปฏิบัติเบื่องต้นในการสร้างเครื่องมือให้มีความเชื่อมั่น
เขียนข้อกำหนดที่ต้องการให้ชัดเจน
เขียนข้อคำถามให้มีจำนวนมากที่สุด
ถ้าข้อคำถามใดจำเป็นต้องมีคำอธิบายเพิ่มเติมก็ให้เพิ่มเติมอย่างชัดเจน
ระมัดระวังในการใช้เครื่องมือ
เกณฑ์ในการพิจารณาค่าคาวมเชื่อมั่น
เครื่องมือที่ใช้วัดการทำหน้าที่อวัยวะต่างๆ ในร่างกายมนุษย์ควรมีค่าความเชื่อมั่น 0.95 ขึ้นไป
ดครื่องมือมาราฐานทั่วๆไป ควรมีค่าความเชื่อมั่น 0.80 ขึ้นไป
เครื่องมือที่สร้างพัฒนาขึ้นควรมีค่าความเชื่อมั่น 0.70 ขึ้นไป
เครื่องมือที่ใช้วัดเจตคติ ความรู้สึกควรมีค่าความเชื่อมั่น 0.70 ขึ้นไป
เครื่องมือที่ใช้ในการสังเกตควรมีค่าความเชื่อมั่น 0.80 ขึ้นไป
คุณลักษณะเครื่องมือวัดที่ดีอื่นๆ :<3:
ความมีประสิทธิภาพ
ความเป็นปรนัย
ความหมายในการวัด
ความสามารถในการนำไปใช้