Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fertilization to fetal period, Embryo มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้นเรียก Trilaminar…
Fertilization to fetal period
Age of pregnancy
Fetal age (FA)
นับตั้งแต่การปฏิสนธิ
Estimated date of confinement (EDC)
EDC = first day of LMP + 7 days - 3 months
Gestational age (GA)
นับจากวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย (LMP)
Abortion
ภาวะแท้ง
Before fertilization
Capacitation
a. หัว sperm จะเคลือบด้วย DEFB 126 ซึ่งเป็น glycoprotein ที่มีประจุลบ
b. mucus ของ cervix ซึ่งมีประจุลบ จึงผลักกับ sperm ทำให้ sperm เคลื่อนที่ได้อยู่กลาง lumen
c. นอกจากนี้ glycoprotein ยังช่วยป้องกันไม่ให้ sperm ถูก immune ของผู้หญิงทำลาย
d. และช่วยให้ sperm ยึดเกาะกับท่อนำไข่เพื่อรอปฏิสนธิ
e. ในช่วงตกไข่ ท่อนำไข่จะมี pH สูง จึงกระตุ้นให้มีการปลดปล่อย DEFB 126 ออกจาก sperm
f. sperm จึงหลุดจาก epithelium ของท่อนำไข่ และวิ่งไปหาไข่ได้
Acrosome reaction
Contact : sperm เจอผนังเซลล์ไข่ จึงกระตุ้นให้ exocytosis เอนไซม์ hydrolytic จาก acrosome
Acrosomal reaction : เอนไซม์ hydrolytic ย่อยผนังเซลล์ไข่เป็นรู และมี actin ยื่นออกมา
เป็น acrosomal process ทำให้ sperm ยึดกับเซลล์ไข่ได้
Contact and fusion of sperm and egg membrane : membrane ของ sperm และเซลล์ไข่ fuse รวมกัน
ทำให้ membrane ของเซลล์ไข่ เกิด membrane depolarization ส่งผลให้เกิด fast block to polyspermy
Entry of sperm nucleus : nucleus ของ sperm เข้ามาในเซลล์ไข่
Cortical reaction : การ fuse รวมกันของ membrane กระตุ้นให้เซลล์ไข่หลั่ง cortical granule
ทำให้ perivitelline space ขยายตัว ส่งผลให้เกิด slow block to polyspermy
Fertilization
A. sperm ผ่านทะลุ corona radiata ของเซลล์ไข่
B. เกิด cortical และ zona reaction
C. secondary oocyte เกิด secondary meiosis
D. sperm และ oocyte เกิดการ fuse กัน
E. เกิดเป็น zygote
Developmental period
Postnatal period
Prenatal period
Pre-embryonic period
First week
ส่วนใหญ่จะปฏิสนธิที่ ampulla part ของท่อนำไข่
zygote จะ mitosis เพิ่มจำนวนเซลล์ไปเรื่อยๆ
จาก zygote เป็น molura แล้วเป็น blastocyst ตามลำดับ
blastocyst จะหันด้าน inner cell mass (embryoblast) เข้าหา endothelium ของมดลูก เพื่อฝังตัว
Second week
Day 7.5
trophoblast แยกเซลล์เป็น syncytiotrophoblast และ cytotrophoblast
embryoblast แยกเซลล์เป็น epiblast และ hypoblast
เกิดช่องว่าง 2 ช่อง คือ amniotic cavity และ blastocyst cavity
Day 9
มีช่องว่างเกิดขึ้นใน syncytiothoproblast ชื่อ trophoblastic lacunae ซึ่งเป็นแอ่งรับเลือดของแม่
hypoblast เจริญและแบ่งเซลล์เพิ่มจำนวนเป็น exocoelomic membrane (Heuser’s membrane)
blastocyst cavity เปลี่ยนชื่อเป็น exocoelomic cavity (primitive yolk sac)
Day 12
มีชั้น extraembryonic mesoderm แทรกขึ้นมา โดยด้านใน เรียก extraembryonic splanchnic mesoderm และด้านนอก เรียก extraembryonic somatic mesoderm
มีเลือดของแม่เข้ามา fill ใน trophoblastic lacunae มากขึ้น
เกิด extraembryonic cavity (chorionic cavity)
Day 13
extraembryonic cavity (chorionic cavity) จากช่องเล็กๆหลายๆช่องรวมกันเป็นช่องใหญ่ช่องเดียวเรียก chorionic cavity เมื่อช่องใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ จะดัน primitive yolk sac ให้เล็กลง จึงเปลี่ยนชื่อเป็น secondary yolk sac และบางส่วนที่เกิด
การรวมกันของ cavity ที่ไม่สมบูรณ์ จะเหลือเป็น exocoelomic cyst
syncytiotrophoblast และ cytotrophoblast มาจัดเรียงตัวกัน แล้วยื่นขึ้นไป เรียกว่า primary villi
Day 14
เมื่ออายุครรภ์ครบ 2 สัปดาห์ embryo จะฝังตัวเสร็จสมบูรณ์
Implantation
sinusoid-lacunae-bleeding
เลือดที่ออกจากการฝังตัวของตัวอ่อนที่โพรงมดลูก
syncytiotrophoblast
สร้าง hCG
maintain endothelium แทน progesterone
ใช้ตรวจการตั้งครรภ์ โดย hCG จากเลือดจะตรวจพบ 2 สัปดาห์หลังปฏิสนธิ
และจากปัสสาวะจะตรวจพบหลังรอบเดือนรอบต่อไป 7-10 วัน
implantation site of blastocyst
ตำแหน่งที่ฝังตัว
superior part ของมดลูก
posterior wall มากกว่า anterior wall
detect การฝังตัว โดย
USG
RIA
Ectopic pregnancy
95 - 98% มักเกิดในท่อนำไข่
โดยเฉพาะตรง ampulla และ isthmus
มักเกิดในผู้หญิงที่มีประวัติเคยผ่าตัดช่องท้อง หรือติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์
เป็นสาเหตุการเสียชีวิตลำดับต้นๆของผู้หญิง
ในช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
Embryonic preiod (week 3-8)
Thrid week of development
Primitive streak
การสร้าง primitive streak เกิดที่ epiblast
Primative streak ประกอบด้วย
1.primitive node ที่หัวที่มีการขยายออก
2.primitive pit รอยบุ๋ม
3.primitive groove ร่อง
เป็นที่ที่ให้เซลล์ใน epiblast มุดลงมาแทนที่เซลล์ใน hypoblast
แทนที่จนกลายเป็น endoderm
ส่วนของ epiblast เองจะกลายเป็น ectoderm
มีเซลล์ที่เเทรกระหว่าง ectoderm และ endoderm คือ mesoderm
Mesoderm
พอแทรกระหว่าง endoderm และ ectoderm จะ migrate ไปทางด้าน lateral & ด้านหน้า
แต่จะเว้น oropharyngeal membrane , cloacal membrane ไว้
Clinical correlation
Sacrococcygeal tetratoma
-primitive streak สุดท้ายต้องหายไป ถ้าไม่หายไปจะกลายเป็นเนื้องอกเรียก
Sacrococcygeal tetratomaโดยถุง tetratoma
อาจพบใน ectoderm/mesoderm/endoderm
การพัฒนาของเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
Ectoderm
Surface ectoderm —> epidermis
Neural crest —> sensory nervecell , nervous structure ,pigment cells
Neuroal tube—> brain , spinal cord
Mesoderm
Notochord
Nucleus pulposus
Somite
Vertebrae , rib
Skin ชั้น dermis ด้านหลังของร่างกาย
กล้ามเนื้อลำตัว , ลำตัว
Intermediate mesoderm
Kidney, gonads
Lateral plate
Somatic mesoderm
Parietal serosa
Skin ชั้น dermis ด้านหน้าของร่างกาย
กระดูกแขนขา
Splanchnic mesoderm
Wall ของ digestine,respirator tract
Visceral serosa
Heart
Blood vessel
Endoderm
Epithelial lining , ต่อมใน digetine & respiratory tract
Notochordal formation
1.ที่ primative pit มีเซลล์กลุ่มนึงของ epiblast มุดผ่าน primitive node
ไปอยู่ระหว่าง ectoderm , endoderm เกิดเป็น Notochordal process
เกิดช่องว่างใน notochordal process เรียก notochordal canal
notochordal process ที่ติดกับ endoderm สลาย
( ทั้ง notochordal process , endoderm สลาย ) เกิดเป็น notochordal plate
notochordal plate มาเชื่อมติดกับ endoderm
notochordal plate เกิดการ folding เป็น notochord
Gastrulation
Mesoderm แบ่งเป็น 3 ส่วน
-paraxial mesoderm —> เจริญแล้วพัฒนาเป็น—> somite
-intermediate mesoderm
-lateral plate
2.lateral plate แยกเป็น 2 ส่วนได้แก่
-parietal mesoderm layer/intraembryonic somaticmesoderm
-visceral mesoderm/intraembryonic splenic mesoderm
3.Ectoderm มีการแบ่งเป็น 2 ส่วน
-surface ectoderm
-neural tube
Folding of embryo
Folding เกิดได้ 2 ทิศทาง
แนวหัวท้าย (median plane)
แนวข้าง(horizontal plane)
Ectoderm เจริญไวกว่า endoderm , mesoderm เวลามันเจริญจะดึง amniotic cavity ลงมาด้วยทำให้เกิด folding
เมื่อ fold จะทำให้ endoderm ถูกแบ่งเป็น foregut midgut hidegut
Foregut เลี้ยงด้วย celiac trunk
กลายเป็น esophagus stomach proximal part of duodenum spleen liver gall bladder pancreas
Midgut เลี้ยงด้วย superior messentaric artery
กลายเป็น second half of duodenum jejunum ileum cecum appendix
ascending colon transverse colon(2/3)
Hindgut เลี้ยงด้วย inferior messentaric artey กลายเป็น transverse colon(1/3) descending colon sigmoid colon rectum
Fetal period(after 8 week- birth)
-มี growth , maturation ของ tissue orgen ที่สร้างไว้แล้ว
-มีการปรับขนาดสัดส่วนศรีษะกับลำตัว
-week 9 : แยกเพศ ชาย หญิง ได้
-การวัดขนาดลำตัวของ fetus มี 2 แบบ
Crown-rump length(CRL) วัดท่านั่ง,วัดจากก้นกบถึงจุดที่สูงที่ของศรีษะ
Crown-heel length(CHL) วัดท่ายืน , วัดจากส้นเท้าถึงจุดที่สูงที่สุดของศรีษะ
ลำตัวเจริญมากสุดตอน 3-5 เดือน
น้ำหนักเพิ่มเยอะสุดตอน 2 เดือนก่อนคลอด
Embryo มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้นเรียก Trilaminar embryonic disc
แบ่งเป็นชั้น ectoderm mesoderm endoderm