Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
C/S due to Non reassuring FHR - Coggle Diagram
C/S due to Non reassuring FHR
ข้อมูลพื้นฐาน : หญิงเมียนม่า อายุ 27 ปี G1P0A0 GA 40 wks. by u/s
ปฏิเสธการผ่าตัด ไม่มีประวัติแพ้ยา
แพ้อาหารทะเล มีลักษณะผื่นคันเต็มตัว
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน :G1P0A0 GA 40 wks. by u/s น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 60 kg. ส่วนสูง 155 cm. BMI = 24.97 น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์ 8 kg. (ปัจจุบัน 68.1 kg)
ประวัติการตั้งครรภ์ในอดีต : ปฏิเสธ
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว :มารดาเป็นเบาหวาน
:<3:
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
: มาตรวจครรภ์ตามนัด
:<3:
อาการเจ็บป่วยปัจจุบัน
: มาตรวจครรภ์ตามนัด มีอาการเจ็บครรภ์ทุก 10 นาที นานครั้งละ 40 วินาที ไม่มีมูกเลือด ไม่มีน้ำเดิน ลูกดิ้นดี เจ็บครรภ์เป็นบางครั้ง ไม่มีจุกแน่นลิ้นปี่ ไม่มีปวดหัว ไม่มีตาพร่ามัว
ANC
:star:G1P0A0 GA 40 wks. by u/s
:star:ANC ครั้งที่ 1 (25/06/63) GA 14 wks. 3 วัน by date (11 wks. 3 วัน by u/s ) Total ANC 8 ครั้ง ที่โรงพยาบาลตำรวจ
:star:น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 57 kg. ส่วนสูง 155 cm. BMI = 24.97 น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์ 11.1 kg. (ปัจจุบัน 68.1 kg)
:star:การคัดกรองเบาหวาน : 26 wks. 3 day ตรวจ BS 50 gm. = 112 mg/dL
:!!::!!:40 wks. ทำ NST = Minimal variability FHS 70 bpm สั่ง Admit LR
:star:คัดกรองธาลัสซีเมีย : 14 wks. 3 day MCV : 80.5 , Hb typing : Normal or non clinically significant thalassemia
:star:32 wks 3 day
VDRL : Negative
HIV : Negative
HbsAg : Negative
Hb : 12.3
Hct :38.4 %
ABO gr : O
Rh Positive
:star:40 wks
Hb : 12.7
Hct : 40.1
WBC : 11.12 (สูงกว่าปกติ)
:star:LMP : 16/03/63
EDC : 18/01/64
LR
18/01/64
10.15 น. :
ปากมดลูกไม่เปิด I = 2 นาที 30 วินาที, D = 30 วินาที, In = ++ OLA MI
FHS 110-170 bpm
On O2 Cannular 3 lit/min
:!!::!!: NST : variability deceleration
11.00 น.:
ปากมดลูกไม่เปิด I = 3 นาที 30 วินาที, D = 30 วินาที, In = ++ OLA
FHS 80-100 bpm
:!!: :!!: No monito: Non Reassuring FHR
RLS 1,000 ml. IV drip rate 100 ml./hr.
11.30 น.:
ปากมดลูกไม่เปิด I = 3 นาที , D = 30 วินาที, In = ++ OLA
FHS 142 bpm
set C/S due to Non-reassuring FHR
11.40 น. :
OLA FHS 138 bpm
OR รับตัวผู้ป่วย
:star: ทารกเพศ ชาย คลอดเวลา 12.16 น. น้ำหนัก 2,770 g. Problems at birth คอดพันคอ 1 รอบ Apgar score 9,10,10
PP
18/01/64 (14.00 น.)
รับย้ายจาก LR ผ่าน OR แรกรับรู้สึกตัวดี ไม่เวียนศีรษะ ไม่คลื่นไส้ อาเจียน แผลผ่าตัดTransverse line ปิด Gauze seal Fixumull ไว้ ไม่มี Bleed ซึม น้ำคาวปลา 10 ml. On IV Fluid ARI 1,000 ml.+ Synto 20 unit เหลือ 300 ml. R/F Urine เหลืองใส ค้างถุง 100 ml.
13 B
Background
Body Condition
Day 0 รับย้ายจาก LR ผ่าน OR แรกรับรู้สึกตัวดี ไม่เวียนศีรษะ ไม่คลื่นไส้ อาเจียน แผลผ่าตัดTransverse line ปิด Gauze seal Fixumull ไว้ ไม่มี Bleed ซึม
Day 1 รู้สึกตัวดี สีหน้าสดใสขึ้น ร่างกายสะอาด ให้ Ambulate ได้ มีปวดแผลเมื่อนั่งหรือเปลี่ยนท่า
Day 2 สีหน้ายิ้มแย้ม อารมณ์ดี ลุกเข้าห้องน้ำได้ ร่างกายสะอาด ริมฝีปากไม่แห้ง
Belief
มีความเชื่อเรื่องการอยู่ไฟหลังคลอด
4.Body temperature and blood pressure
Day 0 Body Temp 36.6 C
BP 125/80 mmHg
Pulse 64 bpm
RR 18 bpm
Pain score 3 คะแนน
Day 1 Body Temp 36.4 C
BP 120/84 mmHg
Pulse 76 bpm
RR 18 bpm
Pain score 1 คะแนน
Day 2 Body Temp 36.3 C
BP 124/83 mmHg
Pulse 66 bpm
RR 18 bpm
Pain score 0 คะแนน
Breast and lactation
LATCH Score
Latch : 2 คะแนน >>อมเต้านมได้ถูกต้องคือ ปากอ้ากว้าง ริมฝีปากล่างไม่เม้มเข้า คางแนบเต้านม อมลึกถึงลานหัวนมและสามารถดูดนมได้เป็นจังหวะ
Audible : 1 คะแนน >> ได้ยินกลืนน้ำนมไม่ชัดเจน
Type of nipples : 2 คะแนน >> ปกติ
Comfort : 2 คะแนน >> สะดวกสบาย ไม่เจ็บปวด เวลาให้นมหรือหลังให้นมลูก
Hold : 1 คะแนน >> ประคองทารกได้ดีปานกลาง ส่วนใหญ่ถูกต้อง แต่มีบางส่วนต้องแก้ไข
Belly and fundus
C/S ไม่มีการวัดยอดมดลูกและดูการหดรัดตัวของมดลูก
Bladder
Day 1 เดินไปปัสสาวะเองได้ เฉลี่ย 3-4 ครั้ง/วัน ไม่มีอาการแสบขัด
Day 2 เดินไปปัสสาวะเองได้ เฉลี่ย 4-5 ครั้ง/วัน ไม่มีอาการแสบขัด
Day 0 R/F Urine สีเหลืองใส ไม่มีเลือด ไม่มีตะกอน
Bleeding and lochia
EBL : จาก OR 200 ml.
Day 0-2 น้ำคาวปลาเป็นสีแดง ไม่มีกลิ่นเหม็น 24 hr. หลังคลอด EBL < 1,000 ml. ไม่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด
Bottom
แผลผ่าตัดTransverse line ปิด Gauze seal Fixumull ไว้ ไม่มี Bleed ซึม
Bowel movement
Day 0 เริ่ม Step diet ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ยังไม่ถ่ายอุจจาระ ท้องไม่ผูก
Day 1 ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ยังไม่ถ่ายอุจจาระ ท้องไม่ผูก ผายลมแล้ว
Day 2 ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ถ่ายอุจจาระ 1 ครั้ง ท้องไม่ผูก ผายลมเป็นบางครั้ง
11.Blues
ไม่มีความเครียดเกี่ยวกับบุตร สีหน้าสดใส
Bonding
สัมพันธภาพในครอบครัวดี สามรดูแลดี มารดาเลี้ยงบุตรเอง
Baby
ทารกเพศ ชาย คลอดเวลา 12.16 น. น้ำหนัก 2,770 g. Problems at birth คอดพันคอ 1 รอบ Apgar score 9,10,10
Non reassuring FHR
baseline fetal heart rate ปกติ: 110-160 bpm
Tachycardia: baselineFHR มากกว่า160 bpm
Bradycardia: baselineFHR น้อยกว่า110 bpm
baseline variability
Absent variability
Minimal variability
:!!::!!:40 wks. ทำ NST = Minimal variability FHS 70 bpm สั่ง Admit LR
Moderate (normal) variability
Marked variability
fetal heart rate acceleration
fetal heart rate deceleration
early deceleration
Variable deceleration
การลดลงของ FHR อย่างฉับพลัน สามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า โดย FHR จะลดลงมากกว่าหรือเท่ากับ 15 bpm คงอยู่นานมากกว่าหรือเท่ากับ 15 วินาที และคงอยู่นานไม่เกิน 2 นาที โดยสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกหรือไม่ก็ได้ การลดลงของ FHR จะใช้เวลาจากจุดเริ่มต้นจนถึงจุดต่ำสุด น้อยกว่า 30 วินาที
10.15 น. :
ปากมดลูกไม่เปิด I = 2 นาที 30 วินาที, D = 30 วินาที, In = ++ OLA MI
FHS 110-170 bpm
FHS 110-170 bpm
On O2 Cannular 3 lit/min
:!!::!!: NST : variability deceleration
คอดพันคอ 1 รอบ
late deceleration
prolonged deceleration
ผลกระทบ
มารดา : ไม่มีผลต่อร่างกายโดยตรง แต่มีผลต่อสภาพจิตใจ
ทารก : ภาวะทุพลภาพหรือเสียชีวิต
การพยาบาล
การป้องกัน
ประเมินและวินิจฉัยความเสี่ยง
แนะนำให้สังเกตและนับการดิ้นของทารก
แนะนำให้สังเกตอาการผิดปกติที่ต้องพบแพทย์ทันที
แนะนำมาตรวจตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
การรักษา
การให้ทารกคลอดโดยเร็วที่สุด
จัดท่านอนตะแคงซ้าย
ให้ออกซิเจน
หยุดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยพยาบาลขณะตั้งครรภ์
มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับโรคที่มีต่อตนเองและบุตร
ข้อวินิจฉัยพยาบาลระยะคลอด
ทารกในครรภ์มีโอกาสเกิดภาวะพร่องออกซิเจน
ข้อวินิจฉัยพยาบาลระยะหลังคลอด
มารดามีโอกาสเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมีแผลผ่าตัดและแผลบริเวณมดลูก
มารดาหลังคลอดเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเนื่องจากร่างกายอ่อนเพลียจากการ เสียเลือดและน้ำหลังคลอด
ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาและการให้นมอย่างถูกวิธี
ส่งเสริมความรู้ในการดูแลสุขวิทยา และการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดเมื่อกลับไปอยู่บ้าน