Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวชโรคซนสมาธิสั้น,…
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวชโรคซนสมาธิสั้น
ลักษณะอาการและอาการแสดงโรคซนสมาธิสั้น
อาการไม่ใส่ใจ ขาดสมาธิ และ/หรือ อาการซนไม่อยู่นิ่ง หุนหันพลัน
แล่น หลายๆ
อาการเริ่มปรากฎก่อนอายุ 12 ขวบ ที่บ้าน โรงเรียน หรือที่ทำงานสามารถสังเกตพบอาการและอาการแสดง
อาการดังกล่าวมีเป็นเวลานานติดต่อกันอย่างน้อย 6 เดือน และอยู่ในระดับที่ไม่สอดคล้องเหมาะสมกับระดับของพัฒนาการและส่งผลทางลบโดยตรงต่อการใช้ชีวิตในสังคมและการเรียน/การทำงาน อาการต่างๆ
อาการขาดสมาธิมีตั้งแต่ 6 อาการขึ้นไป สำหรับวัยรุ่นตอนปลายและผู้ใหญ่ (อายุตั้งแต่ 17
ปีขึ้นไป) ต้องมีอาการอย่างน้อย 5 อาการขึ้นไป
มักจะดูเหมือนไม่สนใจฟังเวลาที่พูดด้วยโดยตรง
มักจะไม่สามารถจดจำรายละเอียด หรือขาดความรอบคอบจึงทำผิดพลาดในเรื่องเกี่ยวกับการเรียน การทำงาน หรือการทำกิจกรรมอื่นๆ
มักจะไม่มีสมาธิในการทำงานหรือการเล่น
มักจะไม่ปฏิบัติตามคำสั่งและไม่สามารถทำงานเกี่ยวกับการเรียน งานบ้าน หรือทำงานต่างๆตามหน้าที่ให้แล้วเสร็จตามกำหนดได้
มักมีปัญหาในการวางแผนเกี่ยวกับงานหรือการทำกิจกรรมต่างๆ
มักจะหลีกเลี่ยง ไม่ชอบ หรือลังเลที่จะทำงานที่ต้องใช้ความคิด
มักจะทำของที่จำเป็นสำหรับการเรียนหรือการทำงานหายอยู่บ่อยๆ
1 more item...
อาการซน ไม่อยู่นิ่ง และอาการหุนหันพลันแล่น มีอาการดังต่อไปนี้ตั้งแต่ 6 อาการขึ้นไป สำหร้บวัยรุ่นตอนปลายและผู้ใหญ่ (อายุตั้งแต่ 17 ปีขึ้นไป) ต้องมีอาการอย่างน้อย 5 อาการขึ้นไป
มักจะวิ่งไปทั่วหรือปีนป่ายสิ่งต่างๆ ในสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสม
มักจะวิ่งไปทั่วหรือปีนป่ายสิ่งต่างๆ ในสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสม
เมื่อนั่งอยู่กับที่มักจะมีอาการกระวนกระวาย กระสับกระส่าย หรือรู้สึกทรมาน นั่งขยุกขยิกยุกยิกตลอดเวลา ใช้มือหรือเท้าเคาะโน่นเคาะนี่
มักจะลุกจากที่นั่งบ่อยๆ ในสถานการณ์ที่ควรต้องนั่งอยู่กับที่
มักจะไม่สามารถเล่นหรือเข้าร่วมในกิจกรรมสันทนาการได้อย่างเงียบๆ
มักจะยุ่งวุ่นวาย เสมือนหนึ่งขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์อยู่ตลอดเวลา
มักจะพูดมาก พูดไม่หยุด
1 more item...
ส่งผลรบกวนต่อการใช้ชีวิตหรือพัฒนาการ เป็นอุปสรรคหรือทำให้คุณภาพการทำกิจกรรมอื่นๆไม่ว่าจะเป็นเรื่องการใช้ชีวิตในสังคม การเรียน หรือการทำงาน
สาเหตุของโรคซนสมาธิสั้น
ปัจจัยทางชีวภาพ
พันธุกรรม
กายวิภาค สรีรวิทยา ของระบบประสาท
สมองถูกทำลาย (brain damage)
สรีรวิทยาของระบบประสาท
สารเคมีของระบบประสาท (neurochemical factors)
ปัจจัยก่อนคลอด
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยทางจิตสังคม
การบำบัดรักษาโรคซนสมาธิสั้น
การรักษาทางยา
การรักษาด้วยยา psychostimulants
เพิ่มการปล่อยหรือยับยั้งการดูดกลับของ dopamine และ norepinephrine ซึ่งช่วยในการขนส่ง signals ระหว่างประสาทต่างๆ
กลุ่มที่มีส่วนผสมของ phentermine กับกลุ่มที่มีส่วนผสมของ methylphenidate ซึ่ง methylphenidate จะช่วยเพิ่มระดับของserotonin ที่อาจทำให้เด็กมีอาการสงบลง
อาการข้างเคียงของยา psychostimulants
อาการข้างเคียงของยา psychostimulants
น้ำหนักตัวลดลง (แก้ไขโดยการรับประทานยาทันทีหลังรับประทานอาหาร หรือรับประทานของขบเคี้ยวหรือ protein shakes ในระหว่างมื้ออาหาร)
นอนไม่ค่อยหลับ หงุดหงิดกระสับกระส่าย รู้สึกกระวนกระวายใจ อการซึมเศร้า อาการวิตกกังวล มีการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำตาลในเลือด
rebound effect ซึ่งแก้ไขโดยการปรับเพิ่มจำนวนครั้งของยาที่รับประทานหรือเปลี่ยนไปรับประทานยาที่มีฤทธิ์นานกว่านี้
การรักษาโดยกลุ่มยาต้านเศร้า (antidepressants)
ใช้ในกรณีที่ทนอาการข้างเคียงของ methylphenidate ไม่ได้หรือไม่ตอบสนองต่อยาmethylphenidate หรือมีอาการซึมเศร้า อาการวิตกกังวลร่วมด้วย
การรักษาโดยกลุ่มยา alpha-adrenergic agonist
clonidine (catapres) ใช้ methylphenidate กรณีที่เป็น ADHD ร่วมกับ tic หรือ tourette’s disorder
การรักษาโดยกลุ่มยารักษาอาการทางจิต (antipsychotics)
thioridazine (mellaril) haloperidol (haldol) risperidone (risperdal) สำหรับผู้ป่วย ADHD ที่มีความก้าวร้าวหรือมีอาการ tic ร่วมด้วย
การรักษาโดยการปรับพฤติกรรมและการรักษาทางจิตสังคม (behavioral/psychosocial intervention)
การฝึกอบรมพ่อแม่ในการดูแลเด็ก ADHD (parent management training) เพื่อให้สามารถเลี้ยงดูเด็ก ADHD ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การให้ความรู้แก่พ่อแม่เกี่ยวกับโรคและวิธีการบำบัดรักษา ADHD เพื่อพ่อแม่จะได้มีทัศนคติที่ดีต่อเด็กและมีความรู้ความมั่นใจในการดูแลแก้ไขปรับพฤติกรรมของเด็ก
การให้ความช่วยเหลือเด็กขณะอยู่ที่โรงเรียน (school focused intervention)
ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็กขณะอยู่ที่โรงเรียนทั้งในเรื่องผลการเรียน พฤติกรรมของเด็กขณะอยู่ในห้องเรียนสัมพันธภาพระหว่างเด็กกับเพื่อนๆ ฯลฯ ควรนำไปใช้เพื่อประกอบในการวินิฉัยโรคและวางแผนให้การช่วยเหลือเด็ก
การให้ความช่วยเหลือโดยมุ่งเน้นที่ตัวเด็กเป็นสำคัญ (child focused intervention)
การพยาบาลโรคซนสมาธิสั้น
การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล (planning and implementation)
ติดตามและประเมินผลการตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา การรักษาด้วยการปรับพฤติกรรมและการรักษาทางจิตสังคม อาการข้างเคียงอื่นๆ ที่เกิดขึ้น รวมทั้งทัศนคติจากพ่อแม่ผู้ปกครอง คุณครู และตัวเด็กเอง เพื่อการปรับปรุงปรับเปลี่ยนแผนการปฏิบัติการพยาบาลให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ดูแลให้เด็กได้รับการรักษาด้วยยาร่วมกับการรักษาด้วยการปรับพฤติกรรมและการรักษาทางจิตสังคม
กำหนดพฤติกรรมของเด็กที่ความคาดหวังร่วมกันระหว่างพ่อแม่ผู้ปกครอง คุณครู ทีมสหสาขาวิชาชีพ และสื่อสารกับเด็ก พ่อแม่ผู้ปกครอง คุณครูให้ชัดเจนเกี่ยวกับพฤติกรรมที่คาดหวังที่ได้กำหนดไว้ว่าต้องการให้เด็กทำพฤติกรรมอะไรบ้าง
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดกับพ่อแม่และเด็ก และคุณครู เพื่อให้เกิดความไว้วางใจและประสานความร่วมมืออันดีระหว่างโรงพยาบาล บ้าน และโรงเรียนในการแก้ไขปัญหาของเด็ก
ให้ความรู้ คำแนะนำแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคุณครูเกี่ยวกับโรค การดูแลเด็ก การปฏิบัติต่อเด็ก การวางระเบียบวินัยให้แก่เด็ก แผนการบำบัดรักษา รวมถึงยาการออกฤทธิ์ของยาและอาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น พร้อมทั้งวิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอาการต่างๆ เหล่านั้น ฯลฯ
การประเมินสภาพ (assessment)
การประเมินเมื่อเด็กอยู่ที่โรงเรียน
ควรมีการประเมินว่าเด็กมีพฤติกรรมอย่างไรบ้างขณะอยู่ในห้องเรียน ลักษณะของการมีปฏิสัมพันธ์ต่อเพื่อน ผลการเรียนป็นอย่างไร มีพฤติกรมอะไรบ้างที่ทั้งพ่อแม่ คุณครูและ/หรือตัวเด็กเองมองว่าเป็นปัญหาผลกระทบที่เกิดจากพฤติกรรมต่างๆ ของโรคที่มีต่อการเรียนและสัมพันภาพที่มีกับเพื่อนและครูมีอะไรบ้าง
การประเมินที่โรงพยาบาล
การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทำโดยการสังเกตและการสัมภาษณ์สั้นๆ พ่อแม่และคุณครูที่เป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับเด็ก
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (nursing diagnosis)
เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ
ไม่สามารถทำตามบทบาทหน้าที่ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองต่ำเป็นระยะเวลานาน
วิธีการเผชิญปัญหาไม่มีประสิทธิภาพ
การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายบกพร่อง
การประเมินผล (evaluation)
การประเมินผลที่เกิดขึ้นว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้หรือไม่ พฤติกรรมต่างๆที่เป็นปัญหาลดลงหรือไม่ ทั้งในแง่ความรุนแรงและความถี่ในการเกิดพฤติกรรมต่างๆที่เป็นปัญหา
ความหมายโรคซนสมาธิสั้น
เริ่มแสดงอาการตั้งแต่วัยเด็ก โดยมีลักษณะการไม่ใส่ใจ ขาดสมาธิ (inattention) และ/หรือ มีอาการซนไม่อยู่นิ่ง (hyperactivity) หุนหันพลันแล่น (impulsivity) ซึ่งเป็นรูปแบบที่มีลักษณะถาวร (persistent patter)
อาการซนไม่อยู่นิ่ง
อาการหุนหันพลันแล่น
นางสาวรัตนา โจมคำ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3
รหัสนักศึกษา 180101129