Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เตียง19
Dx.Pneumonia with Hyponatremia
manager141112_01, infected,…
เตียง19
Dx.Pneumonia with Hyponatremia
พยาธิสภาพของโรค
ปอดบวม หรือปอดอักเสบ (pneumonia)
เป็นกระบวนการอักเสบของถุงลมปอดทำให้เน้ือปอดแข็งและมีหนองในถุงลมปอด มักพบในคนที่ไม่แข็งแรง(มีภูมิต้านทานโรคต่ำ) เช่น เด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่เป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง ผู้ที่เป็นโรคทางปอดเรื้อรัง (เช่นหืด หลอดลมอักเสบ ถุงลมพอง) หรือผู้ที่กินสเตอรอยด์เป็นประจำ ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยเอดส์ เป็นต้นอาจพบเป็นโรคแทรกซ้อนของไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ทอนซิลอักเสบ หัด อีสุกอีไส ไอกรน ฯลฯ บางคร้ังพบในเด็กที่กินน้ำมันก๊าดหรือผู้ที่สำลักเศษอาหารเข้าไปในปอด
อาการและอาการแสดง
1.ไข้ ไอ หายใจเร็วอาจมีอาการหอบ หายใจลำบาก มี chest retraction, nasal flaring หรือ อาการอื่นๆของภาวะหัวใจล้มเหลว
2.ฟังเสียงปอดอาจได้ยินเสียงกรอบแกรบ (tine or medium crepitations) อาจได้ยินเสียง rhonchi ร่วมด้วย ในกรณีที่พยาธิสภาพเป็นแบบ consolidation อาจได้ยินเสียง bronchial breath sound
3.มีอาการแสดงอื่นๆที่ไม่จำเพาะ เช่น ท้องอืด อาเจียน ซึม
การวินิจฉัย
1.จากอาการแสดงคือ ไข้ ไอ หายใจเร็ว ร่วมกับฟังปอดได้ยินเสียง crepitations หรือ bronchial breath sounds
2.ภาพรังสีทรวงอก ช่วยยืนยันการวินิจฉัยในผู้ป่วยที่ประวัติและการตรวจร่างกายไม่ชัดเจน ในรายที่มั่นใจในการวินิจฉัยแล้วไม่จำเป็นต้องถ่ายภาพรังสีทรวงอก นอกจากต้องการประเมินว่าผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อจากปอดอักเสบหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.การตรวจนับเม็ดเลือดขาวในเลือด ควรทำทุกรายแม้จะไม่สามารถใช้แยกสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสได้ชัดเจน กรณีที่พบ neutrophil สูงมากและมี toxic granules ช่วยสนับสนุนว่าเป็นการติดเชื้อแบคทีเรีย
2.การย้อมเสมหะ (sputum หรือ nasopharyngeal aspiration) gram stain เป็นวิธีที่มีความไว (sensitive) แต่ไม่จำเพาะ (specific) ต่อเชื้อที่เป็นสาเหตุ อาจเป็นแนวทางคร่าวๆ ถึงเชื้อก่อโรค
3.การตรวจเสมหะเพาะเชื้อ มีความไวและความจำเพาะต่ำ
4.การเพาะเชื้อจากเลือด (hemoculture) ควรทำเฉพาะรายที่เป็นรุนแรง เชื้อที่มักก่อให้เกิดการติดเชื้อในกระแสโลหิตได้แก่ Streptococcus pneumoniae, Haemophilus influenzae
-
โซเดียมในเลือดต่ำ (Hyponatremia)
ภาวะที่มีซีรั่มโซเดียมน้อยกว่า 135 mEq/L เป็นความผิดปกติของอิเล็กโทรไลต์ที่พบบ่อยในเด็ก สาเหตุหลักคือมี free water เพิ่มขึ้น ซึ่งผู้ป่วยอาจมี hypovolemia ปริมาตรของ ECลดลง หรือมี normovolemia จากการหลั่ง ADH เพิ่มขึ้นอย่าง inappropriate หรือมี hypervolemia เนื่องจาก effective circulatory volume ลดลงและมีการหลั่ง ADH เพิ่มขึ้นอย่าง appropriate
อาการและอาการแสดง
ความรุนแรงของอาการ Hyponatremia อาจขึ้นอยู่กับปริมาณและอัตราการลดลงของระดับโซเดียมในเลือด หากโซเดียมค่อย ๆ ลดจำนวนลงทีละน้อย อาจยังไม่มีอาการใด ๆ เกิดขึ้นกับผู้ป่วย หรืออาจมีอาการ เช่น
ปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนล้า หมดแรง สับสนมึนงง กล้ามเนื้ออ่อนแรง เกร็ง หรือกระตุก กระสับกระส่าย หงุดหงิดง่าย
การวินิจฉัย
1.การชักประวัติเช่น ประวัติโรคประจำตัว
ได้รับยา ประวัติคลื่นไส้อาเจียน หรือถ่ายอุจจาระเหลว
การตรวจร่างกาย เพื่อประเมินสภาพของปริมาตรน้ำนอกเซลล์ เช่น ตรวจดูบวม, มี postural hypotension, skin turgor
2.ตรวจร่างกายเพื่อหาหลักฐานโรคต่างๆ เช่น โรคหัวใจ โรคตับ โรคต่อมไร้ท่อ เป็นต้น
การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพื้นฐาน
ตรวจพลาสมา osmolality
ตรวจ BUN, Cr ดูการทำงานของไต
ตรวจระดับกรดยูริคในเลือด และ ความเข้มข้นของเลือด เพื่อช่วยบอกปริมาตรของน้ำนอกเซลล์ตรวจosmolalityของปัสสาวะเพื่อดูความสามารถในการขับน้ำของไตตรวจระดับโซเดียมในปัสสาวะเพื่อดูว่ามีการเสียโซเดียมไปทางไตหรือไม่การตรวจพิเศษ เช่น การวัดระดับ ADH ในSIADHโดยทั่วไปการตรวจพิเศษเป็นสิ่งไม่จำเป็นในการหาสาเหตุของภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ
วัณโรคปอดวัณโรค (pulmonary Tuberculosis หรือ TB)
เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคที่เรีย Mycobacterมm จัดอยู่ในกลุ่ม Mycobacterium tuberculosis complex ซื่อ Mycobacterium tuberclosis วัณโรคเกิดได้ในทุกอวัยวะของร่างกาย ส่วนใหญ่มักเกิดที่ปอด (ร้อยละ80%)ซึ่งสามารถแพร่เชื้อได้ง่าย วัณโรคนอกปอดอาจพบได้ในอวัยวะอื่นๆ ได้แก่ เยื่อหุ้มปอด ต่อมน้ำเหลือง กระดูกสันหลัง ข้อต่อ ช่องท้อง ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบสืบพันธุ์ ระบบประสาท เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
อาการของวัณโรคจะแบ่งออกเป็น 2 ระยะใหญ่ ๆ ได้แก่
วัณโรคระยะแฝง (Latent TB) คือ ระยะที่เมื่อผู้ป่วยได้รับเชื้อแล้วแต่ยังไม่มีอาการแสดงใด ๆ เนื่องจากเชื้อยังไม่ได้รับการกระตุ้น แต่เชื้อก็ยังคงอยู่ในร่างกายและสามารถก่อให้เกิดอาการจนเข้าสู่ระยะแสดงอาการได้
วัณโรคระยะแสดงอาการ (Active TB) คือ ระยะที่เชื้อวัณโรคได้รับการกระตุ้นจนแสดงอาการออกมา ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ตั้งแต่ในช่วงสัปดาห์แรก ๆ ไปจนถึงหลายปีหลังจากได้รับเชื้อ ทั้งนี้โดยส่วนใหญ่แล้ววัณโรคจะแสดงอาการที่ปอด ซึ่งเรียกว่า “วัณโรคปอด” (แต่ที่พบเกิดได้น้อย คือ เชื้อในปอดหรือต่อมน้ำเหลืองที่ขั้วปอดมีการแพร่กระจายผ่านทางกระแสเลือดหรือระบบน้ำเหลืองไปยังอวัยวะอื่น ๆ ในร่างกายและทำให้เกิดอาการผิดปกติอื่น ๆ ตามมา ซึ่งมักจะเกิดกับผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำเป็นส่วนใหญ่) โดยผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคปอดจะมีอาการแสดงที่สำคัญคือ อาการไข้และไอเรื้อรังนานเป็นสัปดาห์ ๆ ถึงเป็นแรมเดือน ซึ่งผู้ป่วยมักซื้อยามากินเองหรือไปหาหมอรักษาแต่อาการก็ไม่ทุเลาลง
การวินิจฉัย
1.ทำการซักประวัติการสัมผัสโรค ตรวจร่างกาย ตรวจดูลักษณะของต่อมน้ำเหลืองว่ามีอาการบวมหรือไม่ ร่วมกับการใช้อุปกรณ์สเต็ตโทสโคป (Stethoscope) ซึ่งเป็นหูฟังเพื่อฟังเสียงการทำงานของปอดในขณะที่หายใจ
2.การตรวจทูเบอร์คูลิน” (Tuberculin skin test : TST)
3.การเอกซเรย์ปอด
4.การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และอัลตราซาวด์
5.การตรวจด้วยการส่องกล้อง (Endoscopy)
6.การตัดชิ้นเนื้อ (Biopsy)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
(1)การตรวจหาเชื้อ acid-fast bacilli (AFB) ด้วยกล้องจุลทรรศน์(microscopic examination
(2)การเพาะเลี้ยงเชื้อและพิสูจน์ยืนยันชนิด (mycobacterial culture and identification
(3)การทดสอบความไวต่อยา (drug susceptibility testing)(4)การตรวจทางอณูชีววิทยา (molecular biology)
(5)การตรวจหาการตอบสนองของร่างกายต่อการติดเชื้อวัณโรค(immune reactivity testing)
-
ข้อมูลผู้ป่วย
เตียง18 อายุ83ปี เพศชาย เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ ระดับการศึกษา มศ.3
รับเข้ารพ.เมื่อวันที่ 21/ม.ค./64
อาการสำคัญ
-
อาการปัจจุบัน
ผู้ป่วยชายไทย ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี รูปร่างสมส่วน ผิวขาวเหลือง สื่อสารได้รู้เรื่อง สามารถทำตามคำสั่งได้ดี สายตายาว การได้ยินไม่ค่อยดี รับประทานอาหารได้เอง
หายใจroom air หายใจเข้าได้ไม่ลึก
ใส่สายสวนปัสสาวะ ปัสสาวะสีส้ม ไม่มีตะกอน
on IV ที่แขนข้างซ้าย
แขนและขาmoter power4
-
-
ยา
-
-
-
-
-
-
MONOSORB 20 MG.TAB. ISOSORBIDE 5-MONONITRATE 20MG. TAB.
รับประทานครั้งละ1เม็ด วันละ2ครั้ง ก่อนอาหารเช้า เย็น
รักษาอาการเจ็บหน้าอกในผู้ที่ป่วยเป็นโรคหัวใจ,โรคหลอดเลือดหัวใจ ทำงานโดนคลายและขยายหลอดเลือดเพื่อให้เลือไหลเวียนสู่หัวใจได้ง่ายขึ้น
-
-
-
OMEPRAZOLE CAPSULES 20 MG.(GPO) OMEPRAZOLE 20 MG. CAP.
รับประทานครั้งละ1เม็ด วันละ1ครั้ง หลังอาหารเช้า
ใช้ในการรักษาอาการของโรคกรดไหลย้อน (GERD) และภาวะอื่น ๆ ที่เกิดจากกรดในกระเพาะอาหารส่วนเกิน นอกจากนี้ยังใช้เพื่อส่งเสริมการรักษาโรคหลอดอาหารอักเสบจากการกัดกร่อน (ความเสียหายต่อหลอดอาหารที่เกิดจากกรดในกระเพาะอาหาร)
ผลข้างเคียง
1.อุจจาระเป็นเลือดหรือสีดำอาเจียนที่ดูเหมือนเลือดหรือcoffee grounds
2.น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ
3.วิงเวียนศีรษะอาเจียน
-
-
CALCIFEROL CAP.
VITAMIN D2 20,000 IU CAP.
รับประทานครั้งละ1 เม็ดต่อ1สัปดาห์ กินทุกวันพฤหัสบดี
เพื่อใช้ป้องกันและรักษา โรคกระดูกอ่อน ซึ่งมักเกิดกับเด็กๆอันอาจทำให้กระดูกงอโค้ง ผิดปกติ อาการเจ็บปวดตามกล้ามเนื้อ (Rickets) อาการอ่อนตัวของกระดูก ซึ่งงอโค้งและหักง่าย (Osteomalacia)
อาการแพ้ยา เช่น เป็นผื่นลมพิษ คัน ไอ หน้าบวม คอบวม ปากบวม ลิ้นบวม หายใจไม่อิ่ม หายใจมีเสียงหวีด เป็นต้น
ภาวะแคลเซียมหรือวิตามินดีในร่างกายสูงเกินไป จนอาจเกิดผลข้างเคียง เช่น กระหายน้ำมาก ปัสสาวะมาก อารมณ์เปลี่ยนแปลงไป รู้สึกเหนื่อยล้าผิดปกติ เวียนหัว อาเจียน ไม่อยากอาหาร ท้องผูก เป็นต้น
-
-
POTASSIUM CHLORIDE 3% SOLN.18 (POTASSIUM CHLORIDE 3%SOLN.18)
รับประทานครั้งละ50cc ทุก3ชม. จำนวน2ครั้ง
เพื่อชดเชยโปแทสเซียมที่สูญเสียไปเนื่องจากสาเหตุต่างๆ เช่น โรคหรือการใช้ยาบางชนิด อาการท้องเสียอย่างรุนแรง อาเจียนอย่างหนักเป็นต้น
-
-
-
-
TRAMADOL 50 MG.CAP.(MEDIC) (TRAMADOL HCL 50 MG. CAP.)
รับประทานครั้งละ1เม็ด วันละ3ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
-
-
AZITHROMYCIN 250 MG. CAP. (AZYCIN) (GPO) AZITHROMYCIN 250 MG. CAP.
รับประทานครั้งละ2เม็ด วันละ1ครั้ง ก่อนอาหารเช้า ครบoff 26/ม.ค./64
ใช้รักษาอาการติดเชื้อจากแบคทีเรีย เช่น โรคปอดบวม โรคหลอดลมอักเสบ ทอนซิลอักเสบ ไซนัสอักเสบ การติดเชื้อที่หูชั้นกลาง การติดเชื้อที่ทางเดินหายใจ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-