Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยมภร10/1 เตียง8
Dx.Pneumonia
17C8366D-6EDE-4A56-9889-9B61D57DBF52…
ผู้ป่วยมภร10/1 เตียง8
Dx.Pneumonia
ข้อมูลผู้ป่วย
-
การเจ็บป่วยในอดีต
(Past History illness)
-HT:Hypertension ความดันโลหิตสูง
-DLD:Dyslipidemia ไขมันในเลือดสูง
-CKD:Chronic kidney disease โรคไตเรื้อรัง
-COPD: Chronic Obstructive Pulmonary Disease โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง
-AF: Atrial Fibrillation หัวใจห้องบนสั่นพริ้ว
พยาธิสภาพของCOPD
ผู้ป่วยจะมีพยาธิสภาพของหลอดลมเรื้อรัง ถุงลมโป่งพองและโรคหอบหืดในสัดส่วนต่างๆ
กลุ่มอาการถุงลมโป่งพอง การอุดกั้นทางเดินหายใจเป็นผลมาจากเนื้อเยื่อปอดถูกทำลาย ทำให้ปอดเสียความยืดหยุ่น ขณะเดียวกันหลอดเลือดฝอยในปอดก็ถูกทำลายด้วย ผลตามมาคือลมคั่งในถุงลม แต่อัตราส่วนของการระบายอากาศต่อการไหลเวียนเลือดยังสมดุลกันอยู่ การแลกเปลี่ยนก๊าซจึงยังคงปกติ ผู้ป่วยโรคนี้จึงไม่มีอาการเขียวคล้ำ เรียกว่าผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังชนิดA นอกจากในระยะสุดท้ายของโรค เมื่อหลอดเลือดฝอยถูกทำลายไปอย่างมาก แรงต้านทานภายในหลอดเลือดของปอดสูงขึ้น จะเกิดภาวะหัวใจซีกขวาล้มเหลวตามมา
-
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
-
-
7.ญาติและผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเนื่องจากผู้ป่วยใส่ Tube เป็นครั้งแรกและญาติไม่สามารถมาเยี่ยมได้เนื่องจากสถานการณ์โควิด19
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
2.สังเกตอาการแสดงทางด้านร่างกาย ที่บ่งบอกถึงความวิตกกังวลกลัว เช่นกระสับกระส่ายม่านตาขยาย สัญญาณชีพเปลี่ยนจากเดิม
3.หาวิธีสื่อสารที่เข้าใจกันระหว่างพยาบาล และผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยไม่รู้สึกโดดเดี่ยวเนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถสื่อสารได้
4.เปิดโอกาสให้ญาติสามารถติดตามสอบถามและติดตามอาการของผู้ป่วยได้เนื่องจากสถานการณ์โควิด19 ญาติไม่สามารถมาเยี่ยมผู้ป่วยด้วยตนเองได้
5.อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความจำเป็นที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ ระยะเวลาที่ต้องใช้เพื่อสร้างความมั่นใจทางการพยาบาลให้ผู้ป่วยรู้สึกไว้วางใจและรู้สึกปลอดภัย
-
7.แนะนำเทคนิคในการผ่อนคลายความเครียด เช่น เปิดธรรมมะหรือดนตรีที่ผ่อนคลายให้ผู้ฟังเพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลาย
-
-
-
-
-
3.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ(Urinary Tract Infection)เนื่องจากคาสายสวนปัสสาวะเป็นเวลานาน
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
3.ดูแลความสะอาดบริเวณ perineumของผู้ป่วยอยู่เสมอโดยเฉพาะบริเวณรอบๆสายสวนปัสสาวะ (Foley catheter) เพื่อป้องกันแบคทีเรีย
-
-
-
-
7.ดูแล Foley catheter ให้อยู่ในระบบปิด (Closed System) โดยไม่ปลดข้อต่อระหว่างสายสวนปัสสาวะกับถุงรองรับน้ำปัสสาวะ
8.ดูแลถุงรองรับน้ำปัสสสาวะ (Urine Bag) ให้อยู่ระดับที่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะและจัดให้ Urine bag อยู่สูงกว่าระดับพื้นห้องเสมอ เพื่อป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากน้ำปัสสาวะจาก Urine bag ไหลย้อนเข้าไปในสายสวนปัสสาวะ (Ascending injaction)
9.ดูแลให้น้ำปัสสาวะไหลลง urine bag ได้สะดวก ไม่คั่งค้างอยู่ตามสายสวนปัสสาวะ โดยหมั่นรูดสายยางบ่อยๆ และดูแลไม่ให้สายสวนปัสสาวะบิดงอหรือถูกกดทับ
10.เปลี่ยน Foley cathter และ urine bag ทุก 2-4สัปดาห์ หากประเมินว่าผู้ป่วยเริ่มมีอาการของการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะควรเปลี่ยนสายสวนและถุงรองรับปัสสาวะใหม่ทันทีและอาจต้องส่งปัสสาวะตรวจเป็นระยะๆ
-
2.ล้างมืออย่างถูกต้องตามหลัก 7R ใหสะอาดทั้งก่อนและหลังให้การพยาบาล เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคและลดการสะสมเชื้อโรค
-
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
Amlodipine 10 mg.TAB
ผลข้างเคียง:ผู้ป่วยอาจพบอาการบวมตามมือ เท้า ขาส่วนล่าง ข้อเท้า ปวดศีรษะ ท้องเสีย หน้ามืด เหนื่อยง่าย ซึม ใจสั่น
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
อาการและอาการแสดง
-
ในระยะแรกมีอาการไอแห้งๆไม่มีเสมหะ ต่อมาไอมีเสมหะขุ่นข้นออกเป็นสีเขียว สีเหลือง สีขาวสีสนิมเหล็กมีเลือดปน
-
ในเด็กโตและผู้ใหญ่อาจมีอาการเจ็บแปลบในหน้าอกเวลาหายใจเข้าหรือไอแรงๆ บางครั้งอาจมีอาการปวดร้าวที่ไหล่ สีข้างหรือท้อง
-
-
Problem lists
1.หายใจลำบากและมีหอบเหนื่อยเมื่อต้องออกแรงหรือทำกิจกรรม
2.เสี่ยงเกิดbleeding
3.เสี่ยงพลัดตกหกล้ม มีอาการสับสน
4.ค่า Hemoglobin ต่ำ 11.7 g/dL
5.ค่า Hct ต่ำ 36.2%
6.ค่า Neutrophil สูง 86.6%
7.ผู้ป่วยวิตกกังวล และบ่นคิดถึง
8.มีเสมหะ
9.ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
10.มีโอกาสติดเชื้อ
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โลหิตวิทยา
Hemoglobin(Hb) 11.9 mg/dL (12.8-16.1)
Hematocrit(Hct) 36.6 mg/dL (38.2-48.3)
RBC 3.66 10^6/uL (4.03-5.55)
MCV 100 fL (78.9-98.6)
WBC 16.46 10^3/uL
Neutrophil 80.5% (48.1-71.2)
Lymphocyte 11.1% (21.1-42.7)
Eosinophil 0.1% (0.4-7.2)
-
-
ปัจจัยเสี่ยง
-
-
-
ผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องเช่น ผู้ติดเชื้อHIV ผู้ป่วยโรคเอดส์ ผู้ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้ป่วยมะเร็งระหว่างเคมีบำบัดหรือได้รับยากดภูมิเป็นระยะเวลานาน
-
-
VAP ( Ventilator associated pneumonia)Link Title
Ventilator
EndoTrachea Tube
-