Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชนที่ไม่รุนแรง และไม่ซับซ้อน,…
การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชนที่ไม่รุนแรง และไม่ซับซ้อน
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ประเภทที่ 1
กลุ่มโรคทั่วไปที่พบได้แม้จะยังไม่เข้าสู่วัยผู้สูงอายุเช่น
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคไตวายเรื้อรัง เป็นต้น
ประเภทที่2
กลุ่มโรคที่เกิดเฉพาะในวัยผู้สูงอายุเช่น
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคไตวายเรื้อรัง เป็นต้นเช่น
อาการสับสน สูญเสียความทรงจา กระดูกพรุน การทรงตัวและหกล้ม เป็นต้น
แบ่งเป็น 2 ประเภท
กลุ่มอาการที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ภาวะกระดูกพรุน
ปัญหาการทรงตัวและหกล้ม
อาการสับสน หรือสูญเสียความทรงจา (กลุ่มโรค dementia, Alzheimer)
ปัญหาการกลั้นการขับถ่ายไม่อยู่
โรคสมองเสื่อม (Dementia)ภาวะสมองเสื่อม (Dementia)เป็นกลุ่มอาการที่มีสาเหตุมาจากความผิดปกติที่มาจากการทางานของสมองด้านการคิดและสติปัญญาซึ่งผู้สูงอายุจะมีปัญหาด้านการคิด การตัดสินใจ การเคลื่อนไหว รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรม บุคลิกภาพ และอารมณ์
โรคสมองเสื่อมชนิดที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้(Non-treatable dementia)
เกิดจากความผิดปกติ หรือการเสื่อมของเซลล์ประสาทในสมอง
เช่น โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อย เป็นภาวะที่รักษาให้หายขาดไม่ได้ แต่สามารถช่วยชะลอการเกิดโรคได้
เกิดจากโรคต่างๆที่ทราบสาเหตุ เป็นผลทางโรคทางกาย ที่ส่งผลกระทบทาให้เกิดสมองเสื่อม ตัวอย่างเช่น
โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดสมอง
ความแปรปรวนของระบบในร่างกาย
สาเหตุของภาวะสมองเสื่อม
ประเภทที่ 1
โรคสมองเสื่อมชนิดที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้
สาเหตุของภาวะสมองเสื่อม
ประเภทที่ 2
โรคสมองเสื่อมชนิดที่รักษาหายได้
โรคสมองเสื่อมชนิดสามารถรักษาได้ (Treatable dementia
รคเกี่ยวกับหลอดเลือดสมอ
ความแปรปรวนของระบบในร่างกาย
เกิดจากโรคต่างๆที่ทราบสาเหตุ เป็นผลทางโรคทางกาย ที่ส่งผลกระทบทาให้เกิดสมองเสื่อม ตัวอย่างเช่น
ภาวะขาดสารอาหาร โดยเฉพาะวิตามินบี 1
รคติดเชื้อในสมอง
ภาวะซึมเศร้า (depression)
เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง หรือมีความพิการ
ภาวะซึมเศร้ามีโอกาสพัฒนาทาให้เกิด “โรคซึมเศร้า” ได้ในอนาคต
Depression หมายถึง ภาวะจิตใจที่หม่นหมอง หดหู่ ร่วมกับความรู้สึกท้อแท้ หมดหวัง มองโลกในแง่ร้าย มีความรู้สึกผิด รู้สึกไร้ค่า ตาหนิตนเอง
การออกกาลังกาย ป้องกันการหกล้ม
การเดิน
ถีบจักรยาน
การออกกาลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ได้แก่
ออกกาลังกายในน้า
ว่ายน้า
หรือกิจกรรมที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตอื่นๆ
ความจำ ถึงแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
ความจำชั่วคราว
ความจำถาวร
สารอาหารบารุงสมอง
วิตามินบี ช่วยป้องกันภาวะสมองเสื่อมธาตุเหล็ก มีความจาเป็นต่อการนาออกซิเจนไปเลี้ยงสมองโคลีน เป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้มเซลสมองสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยป้องกันเนื้อเยื่อสมองจากอนุมูลอิสระ น้ามันปลา หรือโอเมก้า 3ลดสูบบุหรี่ หรือปริมาณแอลกอฮอล์
การออกกาลังกายเพิ่มความจำ
ฝึกเดินถอยหลัง หาพื้นที่โล่งกว้าง เรียบ ยืนให้มั่นค่อยๆ ก้าวถอยหลังอย่างช้าๆ อย่างน้อยวันละ 50 ก้าว
ประโยชน์ของการออกกาลังสมอง
ทาให้สมองแข็งแรง และทางานอย่างสมดุลของสมองทั้ง 2ซีก
รู้สึกสงบทั้งทางร่างกาย และจิตใจ เกิดความมั่นใจในตนเอง
ช่วยให้ทักษะการอ่าน เขียนพูด ได้ดีขึ้น
ผู้สูงอายุหมายถึงบุคคลที่มีอายุเกิน 60 ปีบรบูรณ์ขึ้นไป (พระราชบัญญัติ ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 มาตรา 3)ผู้สูงอายุ
10 อาการเตือนของภาวะสมองเสื่อม
มีปัญหาในการใช้ภาษา
สับสนวันเวลาสถานที่ (ไม่รู้เวลา
ทากิจวัตรประจาวันที่คุ้นเคยด้วยความยาก (ทากิจวัตรประจาวันที่เคยทาไม่ได้)
การตัดสินใจไม่เหมาะสม (การตัดสินใจแย่ลง)
สูญเสียความทรงจา โดยเฉพาะเรื่องที่เพิ่งเกิดขึ้น (หลงลืม)
มีปัญหาเกี่ยวกับการคิดรวบยอด (มีปัญหาการคิดแบบนามธรรม)
เก็บสิ่งของผิดที่ (วางของผิดที่)
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย (มีอารมณ์หรือพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป)
บุคลิกภาพเดิมเปลี่ยนไป (บุคลิกเปลี่ยน)
ชอบเก็บตัว ขาดความกระตือรือร้นในการใช้ชีวิต (ขาดความคิดริเริ่ม)
อาการและอาการแสดง
ระยะเริ่มต้น (early state)
เริ่มมีความบอกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่การงาน และด้านสังคมอย่างชัดเจน
มีอาการหลงลืมไม่มาก
ระยะกลาง(moderate state)
*ช่วยเหลือตนเองได้น้อยลง ความจาเสียอย่างเห็นได้ชัดเจน
สับสนวัน เวลา สถานที่
ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้
ระยะรุนแรง(advance state)
*ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
*สูญเสียความทรงจาอย่างมาก
สับสนไม่รู้เวลา สถานที่ หรือเรื่องราวต่างๆ
การรักษา
ประเภทที่ 1
การใช้ยารักษา
(Pharmacological Treatment)
ประเภทที่ 2
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
(Non-Pharmacological Treatment)
การรักษาโดยไม่ใช้ยา(Non-Pharmacological Treatment)
การทาการกระตุ้นสมอง (Cognitive stimulation)
การฝึกความจา (Memory Training)
การปรับเปลี่ยนความคิด หรือพฤติกรรม (Cognitive behavioral therapy)
การระลึกถึงความหลัง (Reminiscence Therapy)
กิจกรรมบาบัด
การใช้เทคนิคการผ่อนคลาย
การใช้สุคนธบาบัด (Aromatherapy)
การป้องกันภาวะสมองเสื่อม
รับประทานอาหารบารุงสมอง
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ไม่จาเป็นหรือใช้ยาต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน และหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทาให้สมองถูกกระทบกระเทือน
ควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
สถานการณ์การพลัดตกหกล้ม
ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตด้วยสาเหตุจากการพลัดตกหกล้ม มากกว่า 2,000 ราย/ปี และเกินครึ่งเป็นวัยผู้สูงอายุ
เพศชายมีอัตราการเสียชีวิตมากกว่าเพศหญิง 3 เท่า
เพศหญิงมีความชุกในการพลัดตกหกล้มมากกว่าเพศชาย 1.5 เท่า
การพลัดตกหกล้ม (fall) เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับสองของการบาดเจ็บโดยไม่ตั้งใจ รองจากอุบัติเหตุทางถนน
สาเหตุของการพลัดตก หกล้ม
สิ่งเเวดล้อม
ตัวผู้สูงอายุ
การจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ
การจัดสภาพแวดล้อมในห้องน้า
ไม่ควรห่างจากห้องนอนเกิน 9 ฟุต
ภายในห้องน้าควรมีราวยึดเกาะ หรือตลอดทางเดินไปห้องน้า
พื้นห้องน้าควรปูด้วยวัสดุเนื้อหยาบ หรือแผ่นยางกันลื่น (ควรแยกห้องอาบน้า กับห้องส้วมออกจากกัน)
อุปกรณ์ภายในห้องน้า
ควรมีเก้าอี้ไว้สาหรับนั่งอาบน้า
ถ้าเป็นไปได้ควรผูกสบู่ติดกับเชือก
ควรใช้ฝักบัวอาบน้าแทนการใช้ขันตักน้า
โถส้วมควรเป็นแบบโถนั่งราบดีกว่านั่งยอง
ควรมีกระดิ่ง และไม่ควรใส่กลอนประตู
ควรมีแสงสว่างเพียงพอ เพื่อให้มองเห็นภายใน
เตียงนอน
ความสูงของเตียงควรอยู่ในระดับที่ผู้สูงอายุสามารถนั่งได้
ที่นอนไม่ควรนุ่ม หรือแข็งมากจนเกินไป
ควรวางอยู่ในตาแหน่งที่ไปถึงได้ง่าย
ควรโต๊ะข้างเตียงไว้สาหรับวางสิ่งที่จาเป็นและมือสามารถเอื้อมถึง
แสงสว่างในห้องควรเพียงพอ อาจมีไฟฉายขนาดพอเหมาะไว้เป็นประจา หลีกเลี่ยงการใช้ตะเกียง หรือเทียน
เก้าอี้ผู้สูงอายุควรมีพนักพิง มีที่วางแขน และความสูงในระดับที่ผู้สูงอายุสามารถนั่งและวางเท้าถึงพื้น
ในห้องนอนไม่ควรมีโทรทัศน์ เพราะอาจทาให้รบกวนการนอน
การจัดสภาพแวดล้อมบันได
ความสูงของแต่ละขั้นไม่ควรเกิน 6 นิ้ว
ขอบบันไดแต่ละขั้น ควรติดบันไดกันลื่น
ราวบันไดควรมีรูปร่างเป็นทรงกลมทั้ง 2 ข้าง
แสงสว่างบริเวณบันไดควรเพียงพอ
ไม่วางสิ่งของใดๆ ตามขั้นบันได
ไม่ควรถือสิ่งของทั้ง 2 มือเดินขึ้น-ลง บันได
วิธีสร้างสภาพแวดล้อมทางสังคม เพื่อดูแลผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดี
วิธี
สร้างภูมิทัศน์ในบ้าน
●หมั่นพาผู้สูงอายุเข้าวัด ทาบุญ สวดมนต์ ไหว้พระ ฟังธรรม นั่งสมาธิ
●สร้างความรู้สึกมีคุณค่าให้แก่ผู้สูงอายุ
●หางานอดิเรกที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุให้ทาอย่างต่อเนื่อง
●ส่งเสริมกิจกรรมผู้สูงอายุในชุมชน
คําแนะนาเมื่อผู้สูงอายุมีภาวะซึมเศร้า
ออกกาลังกาย/ออกกาลังกายสะสมอย่างต่อเนื่อง
●ทากิจกรรมหรืองานอดิเรกที่ชอบที่ทาแล้วเกิดความรู้สึกดี เพลิดเพลิน
●หลีกเลี่ยงการอยู่คนเดียวเมื่อมีอารมณ์เศร้า พูดคุยกับคนอื่นเพื่อความเพลิดเพลิน
ภาพ
●ออกกาลังกาย/ออกกาลังกายสะสมอย่างต่อเนื่อง
●ทากิจกรรมหรืองานอดิเรกที่ชอบที่ทาแล้วเกิดความรู้สึกดี เพลิดเพลิน
●หลีกเลี่ยงการอยู่คนเดียวเมื่อมีอารมณ์เศร้า พูดคุยกับคนอื่นเพื่อความเพลิดเพลิน
●พูดคุยกับคนที่ไว้ใจ
●ผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีต่างๆ
●วางเป้าหมายการทางานที่เหมาะสม เป็นขั้นตอนง่ายๆ
●มองโลกในแง่ดี อย่าด่วนตัดสินใจเรื่องสาคัญในชีวิต
●หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา หรือแอลกอฮอล์
●ปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงของชีวิต
กินข้าวอร่อย ต้องมีองค์ประกอบ ดังนี้
●เคี้ยวได้ดี สามารถรับประทานอาหารได้ทุกประเภท
●ไม่มีแผล ก้อนบวม หรือรอยโรคของเนื้อเยื่ออ่อน จะทาให้ขัดขวางการบดเคี้ยว
●รับรสชาติได้ดี ลิ้นไม่เลี่ยน ไม่แห้ง แตก รวมถึงประสาทในการรับกลิ่น
●กลืนได้ดี ไม่ติดคอ ไม่สาลัก
●กินอาหารให้หลากหลาย และเหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ
●กินข้าวเป็นหลัก เน้นข้าวกล้อง ข้าวขัดสีน้อย
●กินพืชผัก ผลไม้ ตามฤดูกาลเป็นประจา
●กินปลา ไข่ เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ถั่วและผลิตภัณฑ์เป็นประจา
●ดื่มนม และผลิตภัณฑ์เป็นประจา
●หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง หวานจัด เค็มจัด
นอนไม่หลับ
โรคที่มีผลต่อการนอนของผู้สูงอายุ
●ข้ออักเสบ
●กระดูกพรุน
●โรคกระเพาะอาหาร
●โรคมะเร็ง
●โรคพาร์กินสัน
●โรคอัลไซเมอร์
●โรคสมองเสื่อม (Dementia)
●ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
●โรคหัวใจ Congestive heart failure
●โรคถุงลมปอดโป่งพอง (COPD)
สาเหตุทางด้านจิตใจ เช่น โรคซึมเศร้า โรคเครียด
ปัจจัยกระตุ้นให้นอนไม่หลับ
Jet Lag
Working condition
Medication
ผลจากการเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมน
นอนไม่หลับจากการเปลี่ยนเวลานอน
14 วิธีทาให้นอนหลับดีขึ้น
●ออกกาลังกายเป็นประจา
●อย่านอนตอนกลางวันหรือตอนเย็น
●งดสูบบุหรี่ งดเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน แอลกอฮอล์
●การกินอาหาร หลีกเลี่ยงการกินอาหารเย็น หรืออาหารมื้อหนักก่อนเข้านอน 4 ชั่วโมง
●ไม่ควรทากิจกรรมที่ทาให้จิตใจได้รับการกระตุ้นก่อนนอน
●พยายามจัดเวลาสาหรับการผ่อนคลายช่วงหนึ่งก่อนเข้านอน
●ปรับห้องนอนให้เหมาะสม
●เตียงนอน มีไว้สาหรับนอนหลับเท่านั้น
●เมื่อเอนตัวลงนอนแล้ว ควรหยุดอุปนิสัยบางอย่างที่เกิดจากความเคยชินจนเป็นนิสัย
●ไม่ควรดื่มน้าปริมาณมากๆ ในช่วงอาหารเย็น
●หากนอนเป็นเวลา 30 นาทีแล้วยังไม่หลับ ไม่ควรฝึน ควรทากิจกรรมอย่างอื่นเพื่อให้เกิดความผ่อนคลาย
●อย่าดูนาฬิกาบ่อยๆ
●หากคู่นอนมีอาการนอนกรน หรือนอนดิ้น ควรใช้ที่อุดหู
●การตื่นนอน ควรตื่นนอนตรงเวลา
เเผนผังความคิดรวบยอด
วิชาการดูเเลช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชลดา กิ่งมาลา
นางสาวอาภาภรณ์ สังข์ภักดี เลขที่ 74