Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เตียง 22 มภร10/1
Diagnosis: atrial fibrillation
รับไว้ในความดูแล…
เตียง 22 มภร10/1
Diagnosis: atrial fibrillation
รับไว้ในความดูแล 25 มกราคม 2564
พยาธิสรีรวิทยา
-
-
พยาธิสภาพ
AF(Atrial Fibrillation)
หัวใจห้องบนเต้นพลิ้ว (Atrial Fibrillation) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า AF เป็นภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดปกติที่รุนแรงที่สุด โดยที่หัวใจห้องบนจะเต้นเร็วมากกว่า 350 ครั้งต่อนาที การที่หัวใจห้องบนเต้นเร็วแบบนี้นอกจากจะทำให้เกิดอาการใจสั่นแล้ว ยังอาจทำให้เกิดหัวใจล้มเหลวได้การที่หัวใจห้องบนเต้นเร็วมากขนาดนี้ทำให้หัวใจห้องบนไม่สามารถบีบตัวพร้อมกันได้ทั้งห้องส่งผลให้ห้องบนบีบตัวไม่ดี เกิดมีลิ่มเลือดตกค้างอยู่ในหัวใจ ลิ่มเลือดอาจหลุดออกจากหัวใจไปอุดตันหลอดเลือดต่างๆ ของร่างกาย เช่น หลอดเลือดสมองทำให้เกิดอัมพาตได้นอกจากนี้ผู้ป่วย AF ยังมีอัตราเสียชีวิตเพิ่มขึ้นอีกด้วย AF
สาเหตุ
ดืกลุ่มที่1 ดื่มเครื่องดื่มที่มีสารกระตุ้น เช่น เครื่องดื่มที่มีแอลกกอฮอล์ ชา กาแฟ โสม เป็นต้น การพักผ่อนไม่เพียงพอ การเจ็บป่วยต่างๆเช่น หอบหืด. ปอดอักเสบ
กลุ่มที่2 ความผิดปกติของหัวใจเช่น หลอดเลือดหัวใจอุดตัน สิ้นหัวใจตีบ หัวใจทำงานล้มเหลวซึ่งสามารถกระตุ้นให้เกิด AFได้
-
-
-
-
-
หัวใจล้มเหลว
หัวใจข้างซ้ายล้มเหลว
เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจล่างซ้ายบีบตัวลดลง ในระยะแรกหัวใจจะปรับตัวโดยระบบประสาท syspatatic จะทำงานมากขึ้น ซึ่งจะกระตุ้นให้ระบบ ranin-Angiotensin ทำหน้าที่เพื่มขึ้น ทำให้หัวใจมีขนาดเพิ่มขึ้น ถ้าหากยังมีพยาธิสภาพของโรคต่อไปทำให้กลไกการปรับตัวล้มเหลวทำให้เนื้อเยื่อของอวัยวะต่างๆได้รับเลือดไม่เพียงพอ เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวลดลงทำให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใยลดลง=>เลือดค้างในหัวใจ ความดันเลือดสูง เลือดฝอยจากปอดไหลเข้าใจห้องล่างซ้ายได้น้อยทำให้กลายเป็นภาวะน้ำท่วมปอด
-
หัวใจข้างขวาล้มเหลว
เป็นต่อเนื่องมาจากการมีแรงดันหลอดเลือดในปอดสูง
รวมทั้งแรงดันในpulmonary arteryจากการที่มีภาวะห้องล่างซ้ายล้มเหลวทำให้หัวใจห้องล่างขวา พยายามบีบตัวเพื่อส่งเลือดไปฟอกที่ปอด ทำงานหนักจนเกิดการล้มเหลวในการบีบตัวทำให้มรเลือดคั่งในหัวใจห้องล่างขวา=>เลือดออกจากตามส่วนต่างๆของร่างกาย(superior vena cava and Inferior vena cava)ไม่สามารถเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาได้จึงคั่งอยู่ตามหลอดเลือดดำตามร่างกายเมื่อหลอดเลือดดำมีแรงดันที่สูงขึ้นทำให้เกิดอาการบวมตามร่างกาย
-
ภาวะที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดได้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายอาจส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
-
-
-
ข้อมูลผู้ป่วย
อาการสำคัญ
มีอาการท้องเสียและถ่ายเป็นสีดำ 3-4 ครั้ง 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล ถ่ายเป็นสีดำปนเลือด ช่วงเช้าก่อนมาโรงพยาบาลในวันที่ 18/01/64 ผู้ป่วยAdmit ที่ มภร.10/1 เมื่อวันที่ 24/01/64 Dx. AF
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ผู้ป่วยเคย Admit ด้วยโรค TVD(Triple vessel disease)
รักษาแบบ PCI (โดยการสอด Stent) เพื่อลดการตีบกลับทันที
-
-
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
-
อาการปัจจุบัน
24/01/64
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 72 ปี รูปร่างสมส่วน ผมสีดำ รู้สึกตัวดี ช่วยเหลือตนเองได้ หายใจ room air ไม่สามารถนอนราบได้ มีอาการไอ ไม่มีอาการหอบเหนื่อยขณะพูด ไม่มีการบวมบริเวณแขนและขาของผู้ป่วย ผู้ป่วยปัสสาวะได้เองโดยใช้ comfort ขับถ่ายอุจจาระได้ปกติ
25/01/64
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 72 ปี รูปร่างสมส่วน ได้ทำ Colonoscopic หลังออกจากห้องหัตถการ ผู้ป่วย on cannula 5LPM ค่า Vital sings แรกรับ T= 36.6 pluse= 60 RR= 14 BP= 111/54 O2 situation = 100 ผู้ป่วยมีอาการสะลึมสะลือ ผลการทำ Colonoscopy คือ Tiny Hemorrhoid
26/01/64
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 72 ปี รู้สึกตัวดี พูดคุยได้ รูปร่างสมส่วน สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ มีอาการไอ และมีเสมหะ หายใจ Room air on injection plug ที่แขนขวา ไม่มีอาการบวมที่แขนและขา ผู้ป่วยทานอาหารอ่อนเนื่องจากต้อง clear ลำไส้เพื่อ NPO และนัดทำ Capsule Endoscopy(การกลืนกล้องแคปซูลเพื่อตรวจลำไส้เล็ก) ผู้ป่วย void เองได้ ลักษณะการปัสสาวะเป็นสีเหลืองใส ไม่มีตะกอน แต่จะปัสสาวะแบบ
กระปริบกระปอย ถ่ายอุจจาระไม่มีสีดำและมีเลือดออก
27/01/64
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 72 ปี รู้สึกตัวดี ได้ทำ capsule endoscopy เวลา 7.30 น. และได้ให้ผู้ป่วยเดินรอบๆเตียงเพื่อให้ แคปซูลลงไปที่ลำไส้ ผู้ป่วยหายใจ room air มีอาการไอและมีเสมหะสีขาวเหลือง on injection ที่แขนขวา no phebitis Motor power ที่แขนและขาทั้งสองข้าง ได้ 5 คะแนน ผู้ป่วย void เองได้ รอติดตามผล capsule endoscopy
การตรวจพิเศษ
Colonoscopy
-
การส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ (colonoscopy) เป็นวิธีการที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการประเมินปัญหาในลำไส้ใหญ่ โดยใช้กล้องส่องลำไส้ใหญ่ (colonoscope) ซึ่งมีลักษณะเป็นท่อขนาดเล็ก ผอม ยาว และยืดหยุ่นได้ มีกล้องวิดีโอและดวงไฟขนาดเล็กมากติดอยู่ที่ปลายท่อ เมื่อทำการขยับและปรับกล้องส่องลำไส้ใหญ่อย่างเหมาะสมแล้ว แพทย์จะสามารถเคลื่อนไหวกล้องดังกล่าวในลำไส้ใหญ่ให้ไปในทิศทางที่ต้องการได้ ภาพที่กล้องบันทึกได้ในลำไส้ใหญ่จะปรากฏบนจอโทรทัศน์ ให้คุณภาพความคมชัดที่ดี และสามารถเก็บรายละเอียดภายในลำไส้ใหญ่ได้ทั้งหมด ซึ่งจะให้ความถูกต้องแม่นยำมากกว่าการทำเอกซเรย์
-
Capsule endoscopy
-
-
แคปซูลเอ็นโดสโคป” เป็นวัสดุขนาดเล็กและเบา ซึ่งมีลักษณะปลายมนโค้งเป็นพลาสติกใส มีเลนส์ และตัวให้แสงสว่างในการถ่ายภาพ พร้อมด้วยตัวบันทึกภาพ โดยผู้เข้ารับการตรวจสามารถกลืนแคปซูลพร้อมน้ำ ได้อย่างสบาย ไม่ต้องเคี้ยว หลังจากนั้นแคปซูลจะเดินทางไปตามส่วนต่างๆ ของระบบทางเดินอาหารโดยเริ่มจากปากไปยังหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร (Stomach) ลำไส้เล็กตอนต้น (Duodenum) ลำไส้เล็กตอนกลาง (Jejunum)ลำไส้เล็กตอนปลาย (IIeum) ช่วงลิ้นเชื่อมต่อก่อนถึงลำไส้ใหญ่ (IIeo –cecal Valve) กระพุ้งแรกของลำไส้ใหญ่ (Cecum) และลำไส้ใหญ่ (Colon) ซึ่งจะบันทึกภาพระบบภายในและส่งสัญญาณต่อเนื่องเชื่อมเข้าเก็บบันทึกไว้ใน เครื่องบันทึกภาพ
Heart
-
การตรวจหัวใจด้วคลื่นเสียงความถี่
Echocardiogram
การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง(Echocardiogram,Echocardiography)หรือ (Echo)คือการตรวจวัดประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจ เช่น การบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ ขนาดของห้องหัวใจ การไหลเวียนเลือดหัวใจ การทำงานของลิ้นหัวใจและดูตำแหน่งของหลอดเลือดต่างๆ ที่เข้าออกจากหัวใจโดยการตรวจด้วยการใช้การสะท้อนกลับของคลื่นเสียงความถี่สูงที่ถูกปล่อยออกมาจากหัวตรวจ ส่งผ่านผนังทรวงอกไปถึงหัวใจ
การตรวจร่างกายผู้ป่วย
-
ระบบหัวใจและหลอดเลือด: ผู้ป่วยมีอัตราการเต้นของหัวใจที่เต้นพริ้ว ทำให้หัวใจห้องบนมีการสูบฉีดเลือดเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยไม่มีอาการเจ็บหน้าอก และไม่มีอาการหอบเหนื่อยขณะหายใจ
ระบบผิวหนัง: ผู้ป่วยมีผิวหนังที่แห้งตามวัยผู้สูงอายุ skin turgor negative ไม่มีแผลกดทับบริเวณตามร่างกายของผู้ป่วย
-
-
-
-
ประวัติการใช้สารเสพติด
-
ผู้ป่วยดื่มเหล้ายาป่า เหล้าต้มบำรุง (พญาเสือโคร่ง,น้ำผึ้ง) สัปดาห์ละ 2-3 วัน
Problem list
-
-
-
-
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
- ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวเนื่องจากหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Atrial fibilulation)
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
-
ให้ยาตามแผนการรักษา โดยแพทย์ได้ให้ Isosorbideคือยาขยายหลอดเลือดเพื่อให้การบีบตัวของเลือดทำงานได้ดีขึ้นและไม่เกิดการคั่งของเลือด
ให้ผู้ป่วยนอนในท่า Flower‘s position ศีรษะสูง30-45องศา เพื่อให้ผู้ป่วยหายใจสะดวกขึ้นเนื่องจากปอดจะขยายตัวขึ้นทำให้ได้รัยออกซิเจนมากขึ้นและเป็นการลดการเกิดเลือดกลับเข้าสู่หัวใจ ให้การช่วยเหลือดูแลในเรื่องการเปลี่ยนท่าต่างๆให้ผู้ป่วยมีความสุขสบาย
-
-
ติดตามอาการเขียวปลายมือปลายเท้าเนื่องจากเลือดที่สูบฉีดจากหัวใจไม่สามารถไปเลี้ยงตามปลายมือปลายเท้า และสามารถสังเกตุอาการชา เย็น ซีด
-
-
-
-
-
- ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกผิดปกติหลังจากการทำ colonoscopy
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
เมื่อผู้ป่วยออกจากห้องการทำหัตถการcolonoscopy ประเมินความรู้สึกตัวของผู้ป่วยและวัด Vital sings ทันที หลังจากนั้นวัด 15นาที1ครั้ง 30นาที2ครั้ง และทุกๆ1ชั่วโมงจนกว่าผู้ป่วยจะมีอาการstable
ประเมินเpain score
ดูเรื่องbleeding ว่าผู้ป่วยมีbleedingเยอะหรือไม่ โดยติดตามจากค่า PTT ค่าปกติอยู่ที่11-13 Second ค่า INR International normalized 0.8-1.1
การตรวจ CBC (Hemoglobin ,Hb ค่าปกติอยู่ที่12.8-16.1 g/dL. Hematocrit ,Hct ค่าปกติอยู่ที่38.2-48.3)
เฝ้าระวังติดตามออกซิเจนของผู้ป่วยเพื่อป้องกันการเกิดภาวะพร่องออกซิเจนเมื่อผู้ป่วยมีภาวะพร่องออกซิเจน ให้เปลี่ยนจาก on cannula 5LPMเป็น Mask with bag และรีบแจ้งแพทย์ทันที
ประเมินสมดุลของน้ำ เข้า-ออก ทุก1ชั่วโมงเนื่องจากผู้ป่วยทำการสวนอุจจาระก่อนทำcolonoscopy เพื่อประเมิน Internal bleeding
เฝ้าระวัง PT PTT ให้อยู่ในระดับ 2.5 เท่าของค่าปกติ เพื่อเป็นการประเมินระดับการแข็งตัวของเลือดที่เหมาะสม สำหรับผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายที่ไม่ส่งผลต่อ prolong bleeding
สั่สังเกตปัสสาวะ อุจจาระ อาเจียน เลือดออกตามไรฟัน เพื่อประเมิน internal bleeding โดยถ้ามีโดยถ้ามีเลือดออกเป็นจำนวนมากผิดปกติให้แจ้งแพทย์ทราบโดยด่วน
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีภาวะbleeding
ผู้ป่วยไม่มีภาวะพร่องออกซิเจน
ผู้ป่วยไม่มีภาวะโลหิตต่ำ
ชีพจรหัวใจของผู้ป่วยเต้นปกติ
-
-
-
-
- ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพของผู้ป่วยและอาการที่จะทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ เช่น วิงเวียรศีรษะ ขาอ่อนแรง
2.ประเมินสภาพแวดล้อมของผู้ป่วยให้วางสิ่งของใกล้ตัวผู้ป่วยเพื่อที่จะหยิบจับสะดวกขึ้น วางของให้เป็นระเบียบเพื่อป้องกันการสะดุด หรือหกล้มตรวจสอบความแข็งแรงของไม้กั้นเตียง และนำไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้งเมื่อผู้ป่วยอยู่ตามลำพัง
4.คอยช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจวันรประจำวันต่างๆ เช่นการเดินไปเข้าห้องน้ำ เป็นต้น
-
-
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ผิดปกติ
-
-
-
-
,
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
-
-
-
-
-
-