Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ, นางสาวนภัสศุภางค์…
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ
การสำลักสิ่งแปลกปลอมที่คอ
คือ
เด็กวัยนี้ซน อยากรู้อยากเห็น
ทำให้มักนำสิ่งของเข้าปาก จมูก จนเกิดการสำลัก ทำให้มีการอุดกั้นกล่องเสียงและหลอดลมส่งผลให้มีการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน
อาจทำให้เสียชีวิตได้
อาการและอาการแสดง
หายใจมีเสียงดัง ลำบาก ขณะหายใจอกบุ๋ม ไอ สำลัก ไอรุนแรง เขียว
พยาธิสภาพ
กายวิภาคในเด็กจะมีทางเดินหายใจสาวนต้นมีขนาดเล็กและแคบ
สามารถเกิดภาวะขาดออกซิเจนได้
การรักษา
ต่ำกว่าอายุ 1 ปี
วางเด็กลงบนแขนผู้ช่วยโดยศรีษะต่ำ ตบหลัง(Back Blow) สลับนอนหงาย ใช้นิ้วกลางและชี้กดหน้าอก(Chest thrust) อย่างละ 5 ครั้ง
อายุมากกว่า1 ปีขึ้นไป
Abdominal Thrust (Heimlich Manuever)
ยืนโน้มตัวไปข้างหน้า ผู้ช่วยเหลือเข้าด้านหลัง แขนสอดโอบผู้ป่วย มือซ้ายประคองมือขวากำมือวางไว้ใต้ลิ้นปี่ ดันมือที่กำเข้าไปที่ลิ้นปี่เร็วเพื่อให้เกิดแรงดันไปดันใต้กระบังลม
เพื่อเอาสิ่งที่แปลกปลอมออก
การพยาบาล
ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
3.ประเมินสัญญาณชีพทุก 1-2 Hr.
ดูแลให้ได้รับการรักษาที่เร็ว
4.ประเมินอาการและอาการแสดง
เตรียมอุปกรณ์ช่วยเหลือเพื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
กระดูกหักและข้อเคลื่อน
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุที่รุนแรงหรือการได้การกระแทกบรอเวณกระดูกโดยตรง
อาการ
บวม
เขียวช้ำ
ปวด กดแล้วเจ็บ
อวัยวะอาจมีการผิดรูป
หลักการดูแลเมื่อเข้าเผือก
หลัก 5PS
Pallor
มีอาการชาและขาดความรู้สึกต่อการสัมผัส
Paralysis
เคลื่อนไหวไม่ได้เนื่องจากถูกกดเส้นประสาท
Presthesia
ดูการไหลเวียนของเลือดถ้าไม่ดี จะเย็นและซีด
Pain
ปวดมากกว่าเดิม
Pulselessness
ดูการเต้นแรงของหัวใจหรือไม่ ไม่เปรียบเทียบกับแขนที่ปกติ
Swelling
มีอาการบวม
24 ชั่วโมงแรก
ประเมินเด็กทุก 1 ชั่วโมงเพราะอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน
การปฐมพยาลบาลเบื้องต้น
ดูว่ากระดูกหักจริงๆหรือไม่
ถ้าเป็นที่ขาใช้ไม้ที่พอเป็นแนวตรงมาดาม และใช้ผ้าผูกไว้ ไม่ต้องแน่นมาก
ดูการเคลื่อนไหลเวียนของเลือดด้วย
ถ้าเป็นที่แขนหากระดาษมาม้วนให้พอหนาแล้วด้ามโดยใช้ผ้าผูก ไม่ต้องแน่นมาก
โทรหา 1669
ภาวะแทรกซ้อน
เนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักอาจได้รับบาดเจ็บเพิ่ม
เคลื่อนย้ายเด็กอย่างระวัง
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บ ดูการเคลื่อนไหว ชีพจรที่แขนขา
เนื่องจากการเคลื่อนไหวถูกจำกัดอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นได้
กระตุ้นให้เด็กนั้นมีการออกกำลังกายเคลื่อนไหวข้อเพื่อป้องกันข้อติดแข็ง
ถ้าใส่เฝือกให้เกร็งกล้ามเนื้อบ่อยๆ
ให้ทานอาหารที่มีกากใย เพื่อลดการท้องผูก
ดื่มน้ำให้มากๆเพื่อกระตุ้นให้เกิดการขับถ่าย
อาจติดเชื้อได้เนื่องจากมีทางเปิดของผิว
มีการทำความสะอาดแผลให้สะอาดก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการที่บ่งชี้ถึงการติดเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ทานอาหารจำพวกโปรตีน วิตามิน เพื่อเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
สารพิษ
จำแนกตามลักษณะการออกฤทธิ์
4 ชนิด
ระคายเคือง
ปวดแสบปวดร้อนและอักเสบต่อมา
กดระบบประสาท
หมดสติ หลับลึก ม่านตาหดเล็ก
กัดเนื้อ
เนื้อเยื่อของร่างกายไหม้ พอง
กระตุ้นระบบประสาท
เกิดอาการเพ้อคลั่ง ใบหน้าและผิวหนังแดง ชีพจรเต้นเร็ว
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพิษทางปาก
ทำให้พิษเจือจางโดยการให้นม
ทำให้อาเจียนเพื่อเอาพิษออก
นำส่งโรงพยาบาล ล้างท้องเอาสารพิิษออก
ข้อห้ามผู้ป่วยอาเจียน
หมดสติ
ได้รับสารผิดขนิดกัดเนื้อ
ทานสารพิษพวกปิโตเลียม
ดูดซับทางเดินอาหาร
สารที่ใช้ได้ผลดี Activated charcoal
เป็นผงถ่านละลายน้ำให้ผู้ป่วยดื่ม ถ้าหาไม่ได้ใช้ไข่ขาวตีให้เข้ากัน
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพิษกัดเนื้อ
อย่าทำให้อาเจียน
รีบส่งโรงพยาบาล
ถ้ารู้สึกตัวให้ดื่มนม
อาการ
ไหม้พอง คลื่นไส้อาเจียน อาจเกิดช็อค
เป็นสารเคมีในชีวิตประจำวัน เป็นพวกกรดด่าง
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพวกน้ำมันปิโตเลียม
ห้ามทำให้อาเจียน
ระหว่างนำส่งถ้าเกิดอาเจียน ให้จัดศรีษะ เพื่อป้องกันการสำลัก
รีบนำส่งโรงพยาบาล
สารพวกเบนซิน ยาฆ่าแมลง
คลื่นไส้อาเจียน อัตราการหายใจและชีพจรเพิ่ม อาจมีเขียวตามปลายแขนขา
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับยาแก้ปวด ลดไข้
ทำให้สารพิษเจือจาง
ให้สารดูดซับสารพิษที่อาจหลงเหลือ
ทำให้อาเจียน
อาการ
ยา Aspirin
หูอื้อ การได้ยินลดลง เหงื่อออกมาก ชีพจรเต้นเร็ว
ยา Paracetamol
คลื่นไส้อาเจียน เหงื่อออกมาก ความดันโลหิตต่ำ
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพิษทางการหายใจ
การหายใจ รีบเปิดหน้าต่างเพื่อให้มีการถ่ายเท
ประเมินการหายใจและการเต้นหัวใจ
นำผู้ป่วยออกมาที่อากาศบริสุทธิ์
นำส่งโรงพยาบาล
การปฐมพยาบาลเมื่อสารเคมีถูกผิวหนัง
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
ปิดแผลและนำส่งโรงพยาบาล
ล้างน้ำสะอาด อย่างน้อย 15 นาที
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี
การปฐมพยาบาลเมื่อสารเคมีเข้าตา
ล้างตาด้วยน้ำสะอาด อย่างน้อย 15 นาที
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี
ปิดตาและนำส่งโรงพยาบาล
การจมน้ำ
แบ่งเป็น 2 ประเภท
Drowning
ผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ
Near-Drowning
ผู้ที่จมน้ำแต่ไม่เสียชีวิตทันที แต่บางรายอาจเสียชีวิตต่มาในระยะสั้นได้
การจมน้ำ 2 ประเภท
น้ำเค็ม
เกิดภาวะpulmonary edema(น้ำคั่ง)
อาจช็อคได้ หัวใจวาย เต้นผิดจังหวะ
เกลือแร่ในร่างกายสูง
น้ำจืด
อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกHemolysis
อาจช็อคได้ หัวใจวาย เต้นผิดจังหวะ
ซึมเข้าปอดรวดเร็ว
การช่วยเหลือเด็ก
การช่วยเบื้องต้น
จับศรีษะหงายขึ้นให้มากที่สุด ฝ่ามือกดหน้าผาก บีบจมูก ใช้ปากครอบปากผู้ป่วย เป่าลมเข้าไปให้สุด (การผายปอด)
ใช้ตาสังเกตดูที่หน้าอก ดูการขยาย
ถ้าไม่ขยายให้ทำการผายปอดสลับการนวดหัวใจ
นวดหัวใจ 30 ครั้ง สลับผายปอด 2 ครั้ง
กรณีที่ไม่รู้สึกตัว
นำเด็กขึ้นฝั่ง
ดูลมหายใจ การเต้นหัวใจ
ถ้าไม่หายใจ หัวใจหยุดเต้น โทร1669b และทำการช่วยเหลือเบื้องต้น
ดีที่สุด
เมื่อนำเด็กขึ้นฝั่งแล้ว กรณีที่รู้สึกตัว
รีบเช็ดตัว
เปลี่ยนเสื้อผ้า
ใช้ผ้าคลุมตัวให้เกิดความอุ่น
จัดท่าตะแคงกึ่งคว่ำ แล้วรีบนำส่งรพ.
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อภาวะไหลเวียนล้มเหลว
เพิ่มของเหลวกรณีที่จมน้ำเค็ม ให้สรน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ติดตามค่าElectolyte และบันทึก I/O
จำกัดและควบคุมการได้รับสารน้ำ โดยเฉพาะจมน้ำจืด เพราะมีภาวะน้ำเกิน
ประเมินV/S และปริมาณสารน้ำเข้า-ออก
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินอาการที่บ่งบอกถึงการติดเชื้อ
V/S, การหายใจ,ลักษณะเสมหะ เป็นต้น
เกิดภาวะขาดออกซิเจน
ให้ออกซิเจนให้เพียงพอ
เพิ่มความอุ่นแก่ร่างกาย
ลดการให้ออกซิเจนเพราะเด็กจมน้ำอุณหภูมิร่างกายต่ำ
ดูแลให้ทางเดินหายใจโล่ง
ประเมินอาการทีี่แสดงถึงการได้ออกซิเจนไม่เพียงพอ
ไฟไหม้และน้ำร้อนลวก
สาเหตุการเกิด
ความร้อน
น้ำร้อน เตารีด ไฟ
สารเคมี
กรด ด่าง
กระแสไฟฟ้า
ไฟช็อต
การเสียดสีที่รุนแรง
รังสี
แสงแดด รังสีต่างๆ เช่น นิวเคลียร์ เรเดียม เป็นต้น
อาการ
ขนาดของแผล
ถ้ามีขนาดใหญ่
ติดเชื้อ
ถึงขั้นเสียชีวิตได้
มีการสูญเสียน้ำ เกลือแร่ โปรตีน
ช็อคได้
ความลึกของแผล
แบ่ง 3 ระดับ
Second degree
เริ่มทำลายชั้นผิวหนัง ปวดแสบ บวมแดง มีตุ่มพอง น้ำเหลืองซึมได้
ติดเชื้อได้ง่าย
Third degree
มีการทำลายชั้นผิวหนังกำพร้าและแท้ บางทีทำลายถึงกระดูก หรือเส้นประสาท อาจทำให้ไม่มีความรู้สึกบริเวณที่โดนไหม้
First degree
ถูกทำลายเพียงบางส่วน ชั้นผิวตื้นๆ ปวดแสร้อนและเป็นผื่น
การปฐมพยาบาล
เป็นไม่มาก
ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดอย่างน้อย 15-20นาที อาการปสดแสบร้อนจะลดลง
อาจใช้สบู่อ่อนๆล้างสิ่งสกปรกออกก่อนแล้วจึงใช้น้ำสะอาดล้าง
การรักษา
ดูแลรักษาบาดแผลอย่างเหมาะสม
มีการตกแต่งบาดแผลในกรณีที่ได้รับการบาดเจ็บมาก ช่วยลดการติดเชื้อได้
ดูแลลระบบไหลเวียน มีการให้สารน้ำทดแทน
มีการปลูกถ่ายเซลล์กรณีที่ถูกทำลายผิวหนังทุกชั้น แผลจะสะอาด
ช่วยเรื่องการหายใจเนื่องจากดูดควันพิษเข้าไปต้องได้รับออกซิเจน
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อ
จัดเด็กให้อยู่ห้องแยก
สังเกตและประเมินบาดแผล
ทำความสะอาดบาดแผลโดยเทรนิคปราศจากเชื้อ
ให้เด็กได้รับยาปฏิชีวนะ เพื่อป้องกันติดเชื้อ
โภชนาการบกพร่อง
ชั่งน้ำหนักวันละครั้งเพื่อดูว่าได้รับสารอาหารเพียงพอมั้ย
ให้ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ ควรกินพวกวิตามิน เกลือแร่ และโปรตีน
สังเกตอาการที่จะเกิดในระบบอาหาร เผื่อเด็กมีเลือดออกจากการเป็นที่กระเพาะ
ภาวะช็อค
ดูแลลให้ได้รับสารน้ำและElectolyteตามแผนการรักษา
ติดตามผลElectolyte
วัดV/S
บันทึก I/O ไม่ต่ำกว่า 1 มล/ก.ก./ชม.
ประเมินระดับความรู้สึกตัว
เสี่ยงต่อความพิการเนื่องจากมีการหดรัดของเนื้อเยื่อ
ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ป้องกันการติดเชื้อ
ให้เด็กมีการบริหารกล้ามเนื้อ เพื่อป้องการยึดติดแข็งของข้อ
ติดตามประเมินผลบริเวณกล้ามเนื้อหรืออวัยวะที่เกิดแผล
ภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ประเมินสังเกตอาการเพราะเด็กอาจมีปัญหาการหายใจ
หายใจมีเสียงหวีด หายใจลำบาก ไอ แสบคอ
ถ้าพบอาการต้องรีบให้ออกซิเจนทันที
ดูแลให้ทางเดินหายใจโล่งและรับออกซิเจนให้เพียงพอ
นางสาวนภัสศุภางค์ ไวยพารา เลขที่ 35 62111301036