Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการพื้นฐานของการพยาบาลจิตเวช👩⚕👨⚕, นางสาวคีตภัทร บุญขำ 62111301010,…
หลักการพื้นฐานของการพยาบาลจิตเวช👩⚕👨⚕
ลักษณะและขอบเขตงาน 4 มิติ
การส่งเสริมสุขภาพจิต (Promotion of Mental Health)
คือการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตเบื้องต้น
มีหลักการว่าสุขภาพจิตดีเกิดจากการกำเนิดที่ดี
สุขภาพดี
ครอบครัวดีมีความอบอุ่น
มีความมั่นคงทางจิตใจ
การปฏิบัติการพยาบาล คือการให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับสุขภาพจิต
ให้ความรู้ก่อนการสมรส
โรคทางพันธุกรรม
การให้กำเนิดทารก
การดูแลเด็กให้เจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและจิตใจ พัฒนาการ
ความต้องการและการตอบสนองความต้องการของบุคคล
การป้องกันปัญหาสุขภาพจิตหรือรักษาภาวะทางสุขภาพจิตให้ดี (Prevention or Maintenance of Mental Health)
ปัญหาสุขภาพเกิดได้กับทุกเพศทุกวัยเพราะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
ทางร่างกาย
อายุ / สภาพร่างกาย
รับผิดชอบตามหน้าที่ของบุคคลในสังคม
อาชีพ /บทบาท
เหตุปัจจัย
ความเครียด / วิตกกังวล / ขัดแย้ง
การปฏิบัติการพยาบาล คือให้ความรู้ช่วยเหลือแนะนำ
การปรับตัว (Adaptation and Adjustment)
การเผชิญปัญหา (Coping)
การลดความวิตกกังวล ลดความเครียด
ช่วยเหลือบุคคลในภาวะวิกฤต
การบำบัดรักษา (Therapeutic or Restoration of Mental Health)
จัดเป็นการป้องกันขั้นที่ 2 (Secondary prevention)
กิจกรรมทางการพยาบาล
การให้ยา
การดูแลทางด้านร่างกาย
การสร้างสัมพันธภาพ
การฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation of Mental Health)
จัดเป็นการป้องกันขั้นที่ 3 (Tertiary prevention)
การปฏิบัติการพยาบาล คือ ฟื้นฟู สมรรถภาพของผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
จัดสิ่งแวดล้อม
จัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด
รักษาบำบัดอื่นๆ ร่วมกับบุคลากรในทีมจิตเวช
หลักการพื้นฐานของการ
พยาบาลจิตเวช
หลักการพยาบาลจิตเวช
2.เข้าใจตนเอง
ex.ถ้าหากPt.นั่งใกล้เกินไป จนทำให้รู้สึกอึดอัด ให้บอกไปตามตรงในเชิงชี้เเจง
เเยกเเยะความรู้สึกให้ออก
3.ปฏิบัติตัวต่อ Pt.อย่างเสมอต้นเสมอปลาย
1.ยอมรับเเละสะท้อนให้ Pt.เห็นว่าเรายอมรับได้ตามสิ่งที่เขาเป็นจริงๆ
4.ให้กำลังใจอย่างเหมาะสม
ตามความเป็นจริง,สมเหตุสมผล,ถูกจังหวะ
5.การเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยมีการเปลี่ยนเเปลงด้วยเหตุผล
สร้างประสบการณ์ที่ดีทางอารมณ์
เขาไว้ใจคนอื่นได้
ให้เขาเปิดใจที่จะยอมรับการเปลี่ยนเเปลง
6.หลีกเลี่ยงการเพิ่มความวิตกกังวลให้ Pt.
การดุ การต่อว่า
สามารถถามได้ถึงสาเหตุเพื่อช่วยเเก้ไขความกังวลนั้น
สนับสนุนด้านกำลังใจให้ Pt.ด้วย
7.สังเกต Pt.โดยใช้คำถามกับตนเองว่า "ทำไม"
เพื่อให้เข้าใจ Pt.มากขึ้น
การพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตระหนักรู้,ตื่นตัว,ช่างสังเกตอย่างตรงไปตรงมา
8.สร้างสัมพันธภาพกับ Pt.อย่างจริงใจ
เป็นไปเพื่อการรักษา
มีการเริ่มต้นเเละสิ้นสุดการสัมพันธ์
9.คำนึงถึงความเป็นบุคคลเเละปัญหาของผู้ป่วย
ไม่พยายามไปควบคุม
เข้าใจในการเกิดพฤติกรรมเหล่านั้น
10.การทำงานตามขั้นตอนที่กำหนดไว้กับ Pt. ให้คำนึงถึงการรับรู้
ระดับการรับรู้เเละพิจารณาเหตุผลเเตกต่างกัน
11.หลีกเลี่ยงการใช้คำพูดหรือการใช้กำลังบังคับ Pt.โดยไม่จำเป็น
12.ให้การพยาบาลเปลี่ยนแปลงได้ตามความ
เหมาะสมแต่หลักการต้องคงเดิม
ex.หลักการให้ Pt.ได้เรียนรู้สิ่งใหม่,หลักการให้ Pt.อยู่กับปัจจุบัน
คุณลักษณะของพยาบาลจิตเวช
มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีทางจิตเวช
ยอมรับในพฤติกรรมของPt.และหาแนวทางแก้ไขให้ดีขึ้น
มีความสม่ำเสมอในการกระทำและคำพูดเพื่อ Pt.ไว้วางใจ
มีความเป็นอิสระและเชื่อถือในตนเอง
เจตคติต่อการเจ็บป่วย
ความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและจิตใจไม่สามารถแยกออกจากกันได้
ทุกคนมีคุณค่าและศักดิ์ศรีของตนเอง พยาบาลต้องเข้าใจและยอมรับ
มนุษย์ทุกคนต้องการความช่วยเหลือประคับประคองด้านจิตใจ โดยเฉพาะในการสร้างสัมพันธภาพ
มนุษย์ทุกคนมีความต้องการพื้นฐาน ทั้งด้านร่างกายและอารมณ์
พยาบาลควรระมัดระวังในคำพูดและท่าทีที่มีต่อผู้ป่วย
การรับรู้เกี่ยวกับความเป็นจริงมีอิทธิพลต่อความรู้สึกของบุคคลในปัจจุบัน
การสำนึกระมัดระวังตนเองโดยระวังความรู้สึกของตนเองที่จะมีต่อการสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย
พยาบาลต้องทราบว่าบุคคลมีความรู้สึกอย่างไรต่อตนเอง ต่อบุคคลอื่น และสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิต
สร้างความเข้าใจว่า ความคิด ความรู้สึก อารมณ์และปฏิกิริยาก่อให้เกิดพฤติกรรม
พฤติกรรมทุกอย่างมีความหมาย
พฤติกรรมนั่นไม่คงที่ พยาบาลต้องคาดการณ์ให้ได้ว่าเกิดจากสาเหตุอะไรและจะให้การช่วยเหลืออย่างไร
ความเครียดอาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกและความ จำเป็นอื่นๆ
บุคคลมีความสามารถในการเผชิญกับความเครียดที่แตกต่างกัน
การเจ็บป่วยเป็นการเรียนรู้ชนิดหนึ่ง
ความสนใจและแนวถนัดของแต่ละบุคคลเป็นพลังในการพัฒนาบุคลิกภาพ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการทางบุคลิกภาพเป็นผลจากกระบวนการที่ซับซ้อนในประสบการณ์ชีวิตของบุคคล
มโนทัศน์เกี่ยวกับความเจ็บป่วยอาจมาจากวัฒนธรรม สังคม ครอบครัว
ความเจ็บป่วยอาจทำให้การทำหน้าที่ของชีวิตผันแปรหรือต้องพึ่งพาผู้อื่น
การฟื้นฟูสมรรถภาพเป็นหัวใจของการบำบัดระยะฟื้นฟู
การฟื้นฟูสมรรถภาพเป็นอิทธิพลจากความร่วมมือของผู้ป่วยและครอบครัว
ระบบการดูแลอย่างต่อเนื่อง
เครือข่ายและบริการสุขภาพจิตชุมชน
บุคคล ครอบครัว ชุมชน
เครือข่ายชุมชน
วัด
องค์กรเอกชน
กรมตำรวจ
สถานีตำรวจ
สมาคมเพื่อผู้บกพร่องทางจิต
กระทรวงศึกษาธิการ
โรงเรียน
ชมรมญาติและผู้ป่วยจิตเวช
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
บ้านกึ่งวิถี
ระบบบริการสาธารณสุข
ศูนย์สุขภาพชุมชน
สถานบริการสาธารณสุขชุมชน
สถานีอนามัย
โรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาลศูนย์
ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน
โรงพยาบาล/สถาบันจิตเวช
โรงพยาบาลชุมชน
ลักษณะการจัดบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
1) บริการผู้ป่วยใน (In-patient services)
เป็นการให้บริการแก่ผู้ที่มี ปัญหาทางจิตที่เกิดขึ้นรุนแรง
จำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
2) บริการผู้ป่วยนอก (Out-patient services)
เป็นการให้บริการแก่ ผู้ป่วยจิตเวชที่ไม่จำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
3) บริการจิตเวชฉุกเฉิน (Emergency services)
บริการตรวจรักษา ตลอด 24 ชั่วโมงแก่ผู้ที่มีปัญหาทางจิตที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน ผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน หรือตกอยู่ใน ภาวะวิกฤต และต้องการการช่วยเหลือโดยด่วน
เช่น
ผู้ป่วยเอะอะ อาละวาด
ผู้ป่วยพยายามฆ่าตัวตาย
ผู้ติดสารเสพติด
ผู้มีปัญหาทางจิตเรื้อรัง
ผู้ป่วยที่มีอาการกำเริบ
4) บริการผู้ป่วยเฉพาะบางเวลา (Partial hospitalization services)
4.1) บริการโรงพยาบาลกลางวัน (Day hospital)
ผู้ป่วยจะมา โรงพยาบาลในเวลากลางวันและกลับไปอยู่บ้านในช่วงกลางคืน
4.2) บริการโรงพยาบาลกลางคืน (Night hospital)
การจัดบริการให้ผู้ป่วยอยู่โรงพยาบาลเฉพาะในเวลากลางคืน ส่วนกลางวันสามารถไปปฏิบัติงานหรือทำกิจกรรมได้ตามปกติ
5) บริการให้คำปรึกษาและการศึกษา (Consultation and education services)
บริการให้การปรึกษา แนะแนว จัดฝึกอบรมในชุมชนให้มีความรู้ทางสุขภาพจิตและจิตเวช และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดูแล สุขภาพจิตส่วนบุคคล ครอบครัว และชุมชน
บริการแบบอื่นๆ
3) การตรวจคัดกรอง (Screening)
4) บริการติดตามผู้ป่วยที่เพิ่งได้รับการจำหน่าย (Follow up care for discharge client)
2) บริการสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ (Service of elderly)
5) บริการบำบัดรักษาโรคพิษสุราเรื้อรัง
1) บริการสุขภาพจิตเด็ก (Service of children)
6) บริการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ (Training program for health profession)
8) การดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่บ้าน (Psychiatric home care)
7) บริการศึกษาค้นคว้าวิจัยและการประเมินผล (Research and evaluation)
ขอบเขตของงานสุขภาพจิตและจิตเวชในระบบ
สาธารณสุขของประเทศไทย
กรมสุขภาพจิตเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบนโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพจิตระดับประเทศ
สนับสนุนทางวิชาการและเทคโนโลยีแก่หน่วยบริการสุขภาพ
ให้บริการจิตเวชเฉพาะทางในโรงพยาบาล
หรือสถาบันจิตเวชศาสตร์
การบูรณาการงานสุขภาพจิต
การดูแลสุขภาพด้วยตนเองในระดับครอบครัว
บริการสาธารณสุขมูลฐาน
(PrimaryHealth Care Service Level: PHC)
ดำเนินการโดย
ประชาชน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
บริการเช่น
ให้สุขภาพจิตศึกษา
คัดกรองปัญหา สุขภาพจิต
บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ
(Primary MedicalCare Level: PMC)
บริการรักษาพยาบาล
ระดับแรกที่ให้บริการโดยบุคลากรสาธารณสุข
บริการเช่น
การคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต
การให้การปรึกษา
การผสมผสาน การดูแล
สุขภาพจิตในงานอื่น
เช่น
การฝากครรภ์
คลินิกเด็กดี/พัฒนาการเด็ก
การติดตามดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
บริการสุขภาพระดับทุติยภูมิ
(SecondaryMedical Care Level: SMC)
ดําเนินการโดยโรงพยาบาลชุมชน
บริการเช่น
บริการรักษาผู้ป่วยนอก
ติดตามดูแลรักษาผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง
อย่างต่อเนื่อง
ช่วยเหลือฟื้นฟูจิตใจในภาวะวิกฤต
ให้การปรึกษาแนะนํา
บริการสุขภาพระดับตติยภูมิ
(TertiaryMedical Care Level: TMC)
ให้บริการเฉพาะทางโดยผู้เชี่ยวชาญในโรงพยาบาลทั่วไปหรือโรงพยาบาลศูนย์คณะแพทย์ศาสตร์
บริการ
การตรวจประเมินวินิจฉัย
บําบัดรักษาฟื้นฟู
ส่งเสริมสนับสนุน เครือข่ายสาธารณสุข
บทบาทพยาบาล
ระดับพื้นฐาน
จัดสรรสิ่งแวดล้อมเพื่อการรักษา
ทีมพยาบาลทุกคนยอมรับพฤติกรรม ของผู้รับบริการ
พยาบาลมีหน้าที่จัดสภาพหอให้คล้ายบ้าน
คำนึงถึงความสะดวก
คำนึงถึงความเป็นสัดส่วน
คำนึงถึงสุขอนามัย
คำนึงถึงความสวยงาม
เป็นเสมือนตัวแทนของแม่
ทำให้ผู้รับบริการรู้สึกสุขสบาย
ห้ามปรามไม่ให้ทะเลาะวิวาท
ประคับประคองจิตใจ
เฝ้าระวังการกระทำที่อันตรายต่อตัวผู้รับบริการ
ช่วยให้ผู้รับบริการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
กระตุ้นให้แสดงออกในความสามารถ
ออกกำลังกายเพิ่มความสนุกสนาน
ให้คำปรึกษาแนะนำรับฟังผู้รับบริการ ช่วยเหลือตามความเหมาะสม
รับฟังให้ระบายความเครียด ความกังวล
เป็นเสมือนครูมีหน้าที่สอนกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
แนะนำการอยู่ร่วมกันในหอผู้รับบริการ
สอนการเล่นเกมส์ต่าง ๆ
ใช้เทคนิคเฉพาะทางการพยาบาล
ช่วยแพทย์ทำการรักษาทางร่างกาย
สังเกตพฤติกรรมและบันทึกข้อมูลส่งต่อ
ระดับผู้เชี่ยวชาญ
ที่ปรึกษา มีความรู้ความสามารถเฉพาะทาง
หน้าที่
ให้คําปรึกษาและแนะแนวแก่บุคคลที่มีปัญหา
เป็นผู้ติดต่อให้ความร่วมมือ การให้การช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในแผนกต่าง ๆ
โดย
ประเมินพฤติกรรมให้การวินิจฉัย
วางแผนการพยาบาลแก่ผู้รับบริการ
เป็นผู้บําบัดรักษาเบื้องต้น
คัดกรองผู้รับบริการและให้การบําบัดรักษาเบื้องต้นในชุมชน
เป็นผู้นําการบําบัด
ดังนี้
สร้างสัมพันธภาพกับผู้รับบริการเชิงการรักษา
ทําจิตบําบัดประคับประคอง
ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้รับบริการ
ผู้นิเทศงานหรือประสานงาน
บทบาทอิสระ
งานที่พยาบาลทําได้โดยตัดสินใจเอง
เช่น
ระดับพื้นฐาน
ระดับผู้เชี่ยวชาญ
บทบาทกึ่งอิสระ
งานที่พยาบาลตัดสินใจ ภายใต้กรอบของสหวิชาชีพ
เช่น
การตัดสินใจให้ยาเมื่อจําเป็น
บทไม่อิสระ
งานที่พยาบาลทําโดยรับคําสั่งจากวิชาชีพอื่น
เช่น
ให้ยาตามแผนการรักษา
นางสาวคีตภัทร บุญขำ 62111301010
นางสาวชลธิชา ศรีสิงห์ 62111301017
นางสาวปวันรัตน์ ชื่นอารมณ์ 62111301050
นางสาวศุภิสรา หงษ์ทอง 62111301087
น.ส.สลิลทิพย์ สังข์ทอง 62111301088
สมาชิก