Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช จิตเวชชุมชน, รายชื่อสมาชิก กลุ่ม 18 …
บทที่ 1
ระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช จิตเวชชุมชน
หลักการพื้นฐานของการพยาบาลจิตเวช
เจตคติต่อการเจ็บป่วย
8.อัตมโนทัศน์เกิดจากอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงในสังคม
nurse ต้องทราบว่าบุคคลมีความรู้สึกอย่างไรต่อตนเอง ต่อบุคคลอื่น และสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิต
9.ความคิด ความรู้สึก อารมณ์และปฏิกิริยาก่อให้เกิดพฤติกรรม
ความเข้าใจ ในสิ่งเหล่านี้ขึ้นอยู่กับความไวต่อการรับรู้จากการสังเกต
การสำนึกระมัดระวังตนเอง (Self-awareness)
nurse จะต้องระมัดระวังความรู้สึก ของตนเองที่จะมีต่อการสร้างสัมพันธภาพกับ Pt.
10.พฤติกรรมทุกอย่างมีความหมาย
แนวคิดนี้ทำให้พยาบาลได้ช่วยให้ผู้ป่วย ได้รับความช่วยเหลือ
ขึ้นอยู่กับความสามารถของพยาบาลในการแปลพฤติกรรมของผู้ป่วย
6.การรับรู้เกี่ยวกับความเป็นจริงเป็นลักษณะเฉพาะตัว
เมื่อมีเหตุการณ์ คล้ายคลึงกันเกิดขึ้น อาจกระตุ้นให้เกิดอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดขึ้นมาได้อีก
เหตุการณ์ต่างๆ ไม่ว่า จะเป็นการพูด การเห็น ล้วนเป็นประสบการณ์ที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึกของบุคคล
11.พฤติกรรมไม่คงที่
พฤติกรรมของ Pt .อาจเปลี่ยนแปลงในระหว่างที่ เจ็บป่วย
nurse ต้องคาดการณ์ให้ได้ว่าเกิดจากสาเหตุอะไร ต้องให้การช่วยเหลือ รับฟัง อธิบาย ให้ ความเชื่อมั่น เพื่อให้ Pt. ไว้วางใจ
5.การสื่อสารเป็นการแลกเปลี่ยนในสังคม
nurse ต้องระวังสีหน้า ท่าทาง คำพูด ที่มีต่อผู้ป่วย
12.ความเครียด
อาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกและความ จำเป็นอื่นๆ
nurse ต้องค้นหาสาเหตุ อาการ และช่วย Pt .ในการปรับตัวต่อความเครียดนั้น
4.มนุษย์ทุกคนมีความต้องการทั้งด้านร่างกายและอารมณ์
nurse ต้องค้นหาและ ตอบสนองความต้องการของ Pt.
13.บุคคลมีความสามารถในการเผชิญ (Coping) กับความเครียดที่แตกต่างกัน
ขึ้นอยู่กับความแข็งแกร่งและกลไกการปรับตัวต่อความเครียด
3.มนุษย์ทุกคนต้องการความช่วยเหลือประคับประคองด้านจิตใจ
nurse ควรมีเจตคติที่ยอมรับ ประคับประคอง
nurse มีท่าที นุ่มนวล รับฟังความคิดเห็น
ให้กำลังใจ Pt. จะทำให้ Pt.มีกำลังใจ และให้ความร่วมมือในการรักษา
14.การเจ็บป่วยเป็นการเรียนรู้ชนิดหนึ่ง
nurse ควรให้ความรู้ Pt. ในเรื่อง เจตคติ พฤติกรรมที่ช่วยลดความวิตกกังวล
ท่าทีของ nurse ควรเป็นสิ่งที่เสริมสร้างความไว้วางใจให้ Pt. และให้ผู้ป่วยฝึกไว้วางใจผู้อื่น
15.ความสนใจ / ความถนัดแต่ละคน แตกต่างกัน
Pt. ถนัดอะไร จะไปทำสิ่งนั้นก่อน
จัดหากิจกรรมให้ผู้ป่วยกระทำตามความถนัด เป็นจุดเริ่มต้นของการเรียนรู้ด้านสังคม ทักษะอาชีพ ซึ่งมีผลต่อการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วย
16.การเจริญเติบโตของมนุษย์และพัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ผลจาก กระบวนการที่ซับซ้อนในประสบการณ์ชีวิตของบุคคล
2.มนุษย์ทุกคนมีคุณค่าและศักดิ์ศรีของตนเอง
nurse ต้องเข้าใจและยอมรับความมีคุณค่าของคนทุกคน
ช่วยเหลือและให้ความสนใจอย่างเท่าเทียม
หลีกเลี่ยงการกระทำที่ทำให้ Pt.อับอาบ เสียศักดิ์ศรี เสียคุณค่า
17.มโนทัศน์เกี่ยวกับความเจ็บป่วย
อาจมาจากวัฒนธรรม สังคม ครอบครัว ความคิด และความเชื่อของแต่ละบุคคล
อาจมีอิทธิพลต่อความ เจ็บป่วย การรักษา และการหายจากความเจ็บป่วยของบุคคล
1.ความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและจิตใจไม่สามารถแยกออกจากกันได้
ร่างกายมีผลทำให้จิตใจไม่ดีได้
จิตใจ เศร้า,โกรธ,กระวนกระวาย มีผลทำให้ร่างกายเจ็บป่วยได้
18.ความเจ็บป่วยอาจทำให้การทำหน้าที่ของชีวิตผันแปรหรือต้องพึ่งพาผู้อื่น
nurse ต้องช่วยประคับประคองด้านอารมณ์ และหาทางช่วยให้ Pt.มีภาพลักษณ์ (Self-image) ที่ ดี และยอมรับข้อจำกัดของตัวเอง
19.การฟื้นฟูสมรรถภาพเป็นหัวใจของการบำบัด
ระยะฟื้นฟูเป็นระยะสำคัญต่อ การบำบัด
เพื่อให้ Pt.กลับสู่สภาวะที่ดีที่สุดทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา
20.การฟื้นฟูสมรรถภาพเป็นอิทธิพลจากความร่วมมือของ Pt.และครอบครัว
เพราะผู้ป่วยไม่ได้อยู่คนเดียว
หลักการพยาบาลจิตเวช
Avoiding increase in patient anxiety
หลีกเลี่ยงการเพิ่มความวิตกกังวลให้กับผู้ป่วย
Many procedures modified but basic
principle unaltered
วิธีการต่างๆ ในการให้การพยาบาลเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมแต่หลักการต้องคงเดิม
Change in patient behavior through emotional experience not by rational interpretation
พฤติกรรมของผู้ป่วยจะเปลี่ยนได้เมื่อผู้ป่วยมีประสบการณ์ทางอารมณ์แต่จะไม่เปลี่ยนด้วยการให้เหตุผล
การทำให้ความคิดผู้ป่วย positive
Observation of mentally ill patient directed
toward “Why” of behavior
การสังเกตผู้ป่วยด้วยการใช้คำถามกับตนเองว่า ทำไม
พยาบาลต้อง
มีการตื่นตัวและไว
สังเกตอย่างตรงไปตรงมา
มีการตระหนักรู้ในตนเอง
Reassurance must be given in a suitable
and in an acceptable manner
การให้กำลังใจควรทำอย่างเหมาะสมในท่าทีที่ผู้ป่วยยอมรับ
การให้กำลังใจผู้ป่วยเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ให้กำลังใจในเวลาที่เหมาะสม
บางทีคำบางคำที่เราพูดติดปากมันก็ไม่ได้ช่วยเยียวยาความรู้สึกสักเท่าไหร่ คำพูดต้องสมเหตุสมผล ถูกจังหวะเวลา
Realistic nurse-patient-relationship
สัมพันธภาพพยาบาลกับผู้ป่วย
พยาบาลเป็นผู้ดูแลรักษา ไม่ใช้ญาติไม่ใช่เพื่อน
Consistency can be used to contribute to the
patient security
ความสม่ำเสมอจะช่วยให้เกิดความมั่นคงทางจิตใจ
เสมอต้นเสมอปลาย เพื่อให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้และได้พัฒนา
Nursing care centered on patient as a person
not on control of symptoms
การพยาบาลต้องคำนึงถึงความเป็นบุคคลและปัญหาของผู้ป่วย
Self-understanding is uses as a therapeutic tools
ความเข้าใจตนเองเป็นเครื่องมือในการรักษา
พยาบาลต้องแยกแยะความรู้สึก แสดงออกในสิ่งที่จะทำให้ผู้ป่วยพัฒนา
Routines and procedures explained at
patients level of understanding
กิจวัตรประจำวันหรือกิจกรรมต่างๆ ควรอธิบายตามระดับความเข้าใจของผู้ป่วย
คำนึงถึงสภาพความพร้อมของผู้ป่วย
Patient need to be accepted exactly as they are
ผู้ป่วยต้องการ การยอมรับในสภาพที่เขาเป็นอยู่
รับรู้ ยอมรับในสิ่งที่ผู้ป่วยแสดงออก
Verbal and physical force avoided if
possible
หลีกเลี่ยงการใช้คำพูดหรือการบังคับผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น
ลักษณะของพยาบาลจิตเวช
3.มีความสม่ำเสมอในการกระทำและคำพูด
เป็นที่ไว้วางใจสำหรับผู้รับบริการ
มีความจริงใจแสดงให้ผู้รับบริการเห็นว่าพยาบาลสนใจ เข้าใจ และยินดีช่วยเหลือ จริงใจ
มีความเป็นอิสระและเชื่อถือในตนเอง
2.ยอมรับในพฤติกรรมของผู้รับบริการและหาแนวทางแก้ไขให้ดีขึ้น
ยอมรับแบบไม่มีเงื่อนไข
ไม่หัวเราะ เยาะเย้ย
มีความอดทน เห็นอกเห็นใจผู้อื่น
1.มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีทางจิตเวช
รู้เกี่ยวกับ จิตวิทยา,สังคมวิทยา,ปัญหาสังคม, สิ่งที่เกิดขึ้นในสังคมในสภาวะปัจจุบัน
ลักษณะขอบเขตงาน 4 มิติ
การส่งเสริมสุขภาพจิต (Promotion of Mental Health)
คือ
การป้องกันปัญหาสุขภาพจิตขั้นต้น
การปฏิบัติการพยาบาล
ให้ความรู้ในเรื่องสุขภาพจิต
ให้ความรู้ คำแนะนำเรื่องการเลือกคู่ครองที่เหมาะสม
โรคพันธุกรรม
การให้กำเนิดทารกที่บิดาและมารดามีความพร้อม
การเลี้ยงดูทารก เด็ก และวัยรุ่นให้เจริญเติบโตทั้งร่ายกายและจิตใจ
การพัฒนาการของบุคคลทุกช่วงวัย
การป้องกันปัญหาสุขภาพจิตหรือรักษาภาวะทางสุขภาพจิตให้ดี (Prevention or Maintenance of Mental Health)
การปฏิบัติการพยาบาล
ให้ความรู้ ช่วยเหลือ แนะนำการปรับตัว
ช่วยเหลือการเผชิญปัญหา
แนะนำการลดความวิตกกังวล ความเครียด
ช่วยเหลือบุคคลในภาวะวิกฤต
ปัญหาสุขภาพจิตเกิดขึ้นได้กับบุคคลทุกเพศทุกวัย
ในช่วงชีวิตต้องมีการเปลี่ยนแปลงและเจริญเติบโต อาจมีเหตุหลายปัจจัยทำให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล ความขัดแย้ง
การบำบัดรักษา (Therapeutic or Restoration of Mental Health)
คือ
บุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิตอาจทำให้ป่วยเป็นโรคจิตได้ จึงต้องใช้การบำบัดรักษา
การปฏิบัติการพยาบาล
ให้ผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตให้ได้รับการรักษาทันที เพื่อให้สุขภาพจิตเสื่อม
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
การให้ยา
การดูแลทางด้านร่างกาย
การฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation of Mental Health)
คือ
ผู้ที่เจ็บป่วยทางจิตใจจะขาดความสามรถในการเข้าสังคม การช่วยเหลือตนเอง จึงต้องมีการรฟื้นฟูให้กับผู้ป่วย
การปฏิบัติการพยาบาล
จัดส่งแวดล้อมเพื่อการรักษา
บำบัดทางความคิด
จัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด
ให้การรักษาร่วมกับบุคลากรในทีมจิตเวช
บทบาทพยาบาล
ระดับพื้นฐาน
เป็นเสมือนตัวแทนของแม่
หน้าที่ในการเลี้ยงดูให้ผู้รับบริการมีความสุขสบาย
เป็นเสมือนครูมีหน้าที่สอนกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวัน
แนะนำการอยู่ร่วมกันในหอผู้ป่วย
สอนการเล่นเกมส์ต่างๆ
เป็นตัวแทนสังคม
ช่วยให้ผู้รับบริการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
ทำการพยาบาลพื้นฐานทุกประเภท ช่วยแพทย์ทำการรักษา
คอยสังเกตพฤติกรรมและบันทึกข้อมูล
เป็นผู้ให้คำปรึกษาแนะนำ
ผู้รับบริการจะรู้สึกมีคุณค่า และรู้สึกว่าพยาบาลเอาใจใส่
เป็นผู้จัดสรรสิ่งแวดล้อมเพื่อการรักษา
สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับบุคคล
จัดสภาพหอให้ใกล้เคียงกับบ้าน คำนึกถึงความสะดวกสบาย ความเป็นสักส่วน ความสวยงาม และสุขอนามัย
บทบาทหน้าที่ระดับสูงหรือระดับเชี่ยวชาญ
1.เป็นที่ปรึกษา
มีความรู้ความสามารถ
มีหน้าที่ให้คำปรึกษา
แก่ผู้ที่มีปัญหา
เพื่อลดความเครียด
เป็นผู้ติดต่อให้ความร่วมมือ
การให้ความช่วยเหลือเเก่ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในแผนต่างๆในโรงพยาบาล
หน้าที่
ประเมินพฤติกรรมให้การวินิจฉัย
วางแผนการพยาบาล
พยาบาลทั่วไป
3) เป็นผู้บำบัดรักษาเบื้องต้น
พยาบาลจิตเวช
โรงพยาบาลทั่วไป
หน้าที่
คัดกรองผู้รับบริการ
ให้การบำบัดรักษาเบื้องต้น
โรงพยาบาลจิตเวช
หน้าที่
ในขั้นต้นอาจให้คำปรึกษา
ให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์
4) เป็นผู้นำการบำบัด
หน้าที่
สร้างสัมพันธภาพกับผู้รับบริการเชิงการรักษา
กระทำจิตบำบัดประคับประคอง
เป็นผู้ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้รับบริการ
เป็นผู้ให้ความรู้
เป็นผู้นิเทศงานหรือประสานงาน
นอกจากนี้
พยาบาลจิตเวช
ต้องดำรงไว้ซึ่งสิทธิของผู้ป่วย
สวมหน้าที่หลายบทบาทในเวลาเดียวกัน
บทบาทอิสระ กึ่งอิสระ และไม่อิสระ
บทบาทอิสระ
ตัดสินใจเอง
บทบาทกึ่งอิสะ
พยาบาลตัดสินใจ ภายใต้กรอบของสหวิชาชีพ
เช่น
การตัดสินใจให้ยาเมื่อจำเป็น
บทบาทไม่อิสระ
พยาบาลทำโดยรับคำสั่งจากวิชาชีพอื่น
เช่น
ให้ยาตามแผนการรักษา
ระบบการดูแลอย่างต่อเนื่อง
ขอบเขตของงานสุขภาพจิตและจิตเวช
ในระบบสาธารณสุขของประเทศไทย
กรมสุขภาพจิต
หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ
สนับสนุนทางวิชาการและเทคโนโลยี
บริการจิตเวชเฉพาะทางใน รพ./สถาบันจิตเวชศาสตร์
บำบัดรักษา/ฟื้นฟู/ส่งเสริม/ป้องกันหัญหาสุขภาพจิต
รพ./สถาบันจิตเวชศาสตร์
ปัจจุบันมีอยู่ 17 แห่ง
บริการเด็กและวัยรุ่น 4 แห่ง
เชี่ยวชาญด้านนิติจิตเวช 1 แห่ง
การบูรณาการงานสุขภาพจิต
เข้าสู่ระบบบริการสาธารณสุขแต่ละระดับ
ดูแลสุขภาพด้วยต้นเองในระดับครอบครัว
ช่วยให้ดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข
บริการสาธารณสุขมูลฐาน
(Primary Health Care Service Level: PHC)
ดำเนินการโดย
ประชาชน
อสม.
เช่น
ให้สุขภาพจิตศึกษา
คัดกรองปัญกาสุขภาพจิต
บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ
(Primary Medical Care Level: PMC)
รักษาพยาบาลระดับแรก
บริการโดย
พนักงานอนามัย
พยาบาลอนามัย
สาธารณสุข
แพทย์เวชปฏิบัติ
บริการสุขภาพระดับทุติยภูมิ
(Secondary Medical Care Level: SMC)
ดำเนินการโดย รพ. ชุมชน
ติดตามดูแลรักษา
ฟื้นฟูจิตใจ
ให้คำปรึกษา
ผสานงานหน่วยงานสุขภาพจิต
บริการสุขภาพระดับตติยภูมิ
(Tertiary Medical Care Level: TMC)
ให้บริการเฉพาะทาง
โดย
ผู้เชี่ยวชาญใน รพ./สถาบันจิตเวช
ให้บริการครบวงจร
ประเมิน/วินิจฉัย
บำบัดรักษา ฟื้นฟู
ส่งเสริมสนับสนุนเครือข่าย สสธ
ลักษณะการจัดบริการ
1.บริการผู้ป่วยใน
(In-patient services)
เป็นการให้บริการแก่ผู้ที่มีปัญหาทางจิตที่เกิดขึ้นรุนแรงและจำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
เพื่อให้การบำบัดรักษาด้วยการให้ยา การทำจิตบำบัดรายบุคคล
หรือรายกลุ่ม และจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด จนกว่าจะมีอาการดีขึ้น
ใช้เวลาในการบำบัดรักษาให้สั้นที่สุดแต่มีประสิทธิผลมากที่สุด
2.บริการผู้ป่วยนอก
(Out-patient services)
เป็นการให้บริการแก่ผู้ป่วยจิตเวชที่ไม่จำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
ให้การรักษาในระยะสั้น อาจเป็นผู้ป่วยเก่าที่นัดมารับยาหรือมีปัญหาที่ต้องการคำแนะนำช่วยเหลือหรือผู้ป่วยใหม่ที่มาขอรับการบำบัดรักษา
จัดบริการในรูปของหน่วยเคลื่อนที่หรือจัดเป็นศูนย์ย่อยระดับหมู่บ้าน ให้บริการโดย
การตรวจ บำบัดรักษา ครอบครัวบำบัดและการเยี่ยมบ้านโดยบุคลากรในทีมจิตเวช
3.บริการจิตเวชฉุกเฉิน
(Emergency services)
เป็นบริการตรวจรักษาตลอด 24 ชั่วโมง แก่ผู้ที่มีปัญหาทางจิตที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน
ผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉินหรือตกอยู่ในภาวะวิกฤต และต้องการการช่วยเหลือโดยด่วน
เช่น
ผู้ป่วยเอะอะ อาละวาด
ผู้ป่วยพยายามฆ่าตัวตาย
ผู้ติดสารเสพติด
ผู้มีปัญหาทางจิตเรื้อรัง
ผู้ป่วยที่มีอาการกำเริบ
4.บริการผู้ป่วยเฉพาะบางเวลา
(Partial hospitalization services)
การให้บริการแก่ผู้ป่วยที่มีอาการดีขึ้นแล้วแต่ยังไม่สามารถ
กลับคืนสู่ครอบครัวหรือสังคมได้อย่างเต็มตัว
มีความจำเป็นและความต้องการที่รับ
การรักษาในโรงพยาบาลเฉพาะบางเวลา
บริการโรงพยาบาลกลางวัน (Day hospital)
ผู้ป่วยมาโรงพยาบาลในเวลากลางวันและกลับไปอยู่บ้านในช่วงกลางคืน
บริการโรงพยาบาลกลางวันจะจัดให้ ผู้ป่วยเข้ากลุ่มบำบัดซึ่งจะพิจารณาถึงความเหมาะสม
เป็นการกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการปรับตัวได้ดีและเร็วขึ้น
เช่น
การทำจิตบำบัดรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
ครอบครัวบำบัด
ชุมชนบำบัด
ฝึกงานอาชีพ
จัดกลุ่มกิจกรรมบำบัดและกลุ่มช่วยเหลือตนเอง
บริการโรงพยาบาลกลางคืน (Night hospital)
จัดบริการให้ผู้ป่วยอยู่โรงพยาบาลเฉพาะในเวลากลางคืน
กลางวันสามารถไปปฏิบัติงานหรือทำกิจกรรมได้ตามปกติ
ช่วยลดความรู้สึกสูญเสีย
ส่งเสริมการใช้ชีวิตแบบไม่พึ่งพิงผู้อื่นมากเกินไป
ช่วยให้เห็นคุณค่าของตนเอง
5.บริการให้คำปรึกษาและการศึกษา
(Consultation and education services)
บริการให้การปรึกษา แนะแนว จัดฝึกอบรมเผยแพร่ความรู้แก่บุคลากรในหน่วยงานต่างๆ ในชุมชน
เพื่อ
เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ทางสุขภาพจิต
และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
สามารถหลีกเลี่ยงหรือเผชิญกับภาวะกดดันได้
สามารถ แก้ปัญหา และปรับตัวได้
สามารถเข้ารับการรักษาได้ถูกต้องรวดเร็ว
เครือข่ายและบริการสุขภาพจิตชุมชน
เป้าหมาย
ดูแลรักษาผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่อง
สนับสนนให้ผู้ป่วสามารถดำเนินชีวิตในชุมชนได้
คือ
การส่งเสริมสุขภาพจิตและการป้องกันปัญหานั้นดำเนินการผ่านทางโรงเรียน วัด และองค์การท้องถิ่นต่างๆ
มีการจัดตั้งชมรมญาติและผู้ป่วยจิตเวชเพื่อให้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และเป็นตัวแทนในการเรียกร้องสิทธิให้ผู้ป่วย
บริการแบบอื่นๆ
1.บริการสุขภาพจิตเด็ก
(Service of children)
ตรวจวินิจฉัย
บำบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพเด็กที่มีปัญหา
ปัญหาทางจิตใจ
ปัญหาทางอารมณ์
ปัญหาทางพฤติกรรม
ปัญหาทางความคิด
ปัญหาทางสติปัญญาบกพร่อง
2.บริการสุขภาพจิตในผู้สูง
อายุ (Service of elderly)
ตรวจวินิจฉัย
บำบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพ
ผู้สูงอายุปกติ
ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิตและพยาธิสภาพของสมอง
3.การตรวจคัดกรอง (Screening)
ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
ให้การรักษาโดยเร็วเพื่อป้องกันการป่วยเรื้อรัง
ส่งต่อไปรับการรักษาที่เหมาะสม
(Screening before admission to state hospital)
4.บริการติดตามผู้ป่วยที่เพิ่งได้รับการจำหน่าย
(Follow up care for discharge client)
มีการส่งต่อเครือข่ายในชุมชน
เช่น
สถานีอนามัย
ศูนย์บริการสาธารณสุข
โรงพยาบาลที่ใกล้บ้าน
5.บริการบำบัดรักษาโรคพิษสุราเรื้อรัง ผู้ป่วยที่ได้รับยาและสารเสพติด (Alcohol and drug abuse and dependence service)
6.บริการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ (Training
program for health profession)
ถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
ถ่ายทอดวิธีปฏิบัติงานในด้านสุขภาพจิต
แก่บุคลากรสาขาวิชาชีพต่างๆ
7.บริการศึกษาค้นคว้าวิจัยและการประ
เมินผล (Research and evaluation)
เพื่อหาแนวทางการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพจิต
และการจัดบริการสุขภาพที่เหมาะสมยิ่งขึ้น
8.การดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่บ้าน
(Psychiatric home care)
การดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่บ้าน
การสนับสนุนช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และ ชุมชนให้มีความสามารถ
ในการปรับตัวและดำรงชีวิตอย่างมีความสุข มีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ
มุ่งเน้นการดูแลต่อเนื่องตลอดชีวิต ในการส่งเสริม
สุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ
ผสมผสานการดูแลบุคคล ครอบครัว และชุมชน ในการพึ่งตนเอง
ดูแลตนเองให้สามารถเผชิญปัญหา ปรับตัวเพื่อการอยู่ร่วมกัน
เป็นการช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาลสู่บ้านและสังคม
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม 18
น.ส.จิรัชยา เทศปัญ เลขที่ 11 62111301012
น.ส.พรมณี สังวรกิจโสภณ เลขที่ 53 62111301055
น.ส.พิชญาภา น้อยเงิน เลขที่ 58 62111301060
น.ส.ภัชราภรณ์ หนูรอด เลขที่ 65 62111301067
น.ส.วรุณี ฉายลิ้ม เลขที่ 76 62111301079
น.ส.สุพัชญา หลอดจำปา เลขที่ 96 62111301099