Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน, นาวสาวอัมพร สุนันต๊ะ 601681 - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน
ความสําคัญ
ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ที่โรงเรียน
มีเหตุผล มีความรับผิดชอบ
มีเปลี่ยนแปลงด้านสังคม สติปัญญา
ปฏิบัติตามกฎระเบียบ
เด็กวัยเรียนเป็นวัยที่กําลังเจริญเติบโต
พฤติกรรมสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ด้านการบริโภคอาหาร
เบเกอรี่
นํ้าดํา / นํ้าหวาน
ขนมขบเคี้ยว
อาหาร Fast Food
ด้านการออกกําลังกาย
เล่นเกมส์คอมพิวเตอร์/Facebook/Instragram/Line
อ่านหนังสือการ์ตูน
ดู TV
เรียนพิเศษ
ด้านการผ่อนคลาย
เล่นเกมส์คอมพิวเตอร์/Facebook/Instragram/Line
เดินตามห้างสรรพสินค้า
ดู TV
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
ด้านร่างกาย
ความผิดปกติของสายตา : สั้น เอียง ยาว
โรคติดเชื้อ ได้แก่ ไข้หวัด ไข้เลือดออก หัด สุกใส คางทูม
โรคผิวหนัง ได้แก่ กลาก เกลื้อน หิด พุพอง เหา
ปัญหาทางโภชนาการ ได้แก่ ปากนกกระจอก ขาดสารอาหาร นํ้าหนักเกิน อ้วน
ปัญหาสุขภาพของช่องปาก : ฟันผุ เหงือกอักเสบ
อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ
ไม่อยากไปโรงเรียน
ปัญหาการเรียน
ปัสสาวะรดที่นอน
ด้านสังคม
เด็กขาดการดูแลหลังเลิกเรียน
ติดเกมส์
เด็กแว้น
การลักขโมย
ปัญหาเรื่องการ Bully หรือ การกลั่นแกล้ง ส่งผลถึงเด็กที่ถูกรังแก และเด็กที่รังแกคนอื่นด้วย
อื่นๆ
ปัญหายาเสพติด
ปัญหาด้านจิตใจและอารมณ์
ปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เอดส์
ปัญหาด้านสังคม เช่น การคบเพื่อน การปรับตัว การทะเลาะเบาะแว้ง ใช้ความรุนแรงสื่อยั่วยุ ปัญหาจริยธรรม
ปัญหาเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
บทบาทของพยาบาล
การสร้างเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย
โภชนาการในโรงเรียน
สุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย
ส่งเสริมผู้ปกครองในการจัดหาอาหารที่เหมาะสมตามวัย
การออกกําลังกายและสมรรถภาพทางกาย
การจัดสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการออกกําลังกาย กีฬา และนันทนาการ
การพัฒนาสมรรถภาพร่างกายนักเรียน
การส่งเสริมสุขภาพจิต
กาจัดบริการให้คําปรึกษา ช่วยเหลือ สนับสนุนทางสังคม
การจัดกิจกรรม / โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต
การประเมิน / คัดกรองสุขภาพจิตของนักเรียน
การส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์
การประเมิน / คัดกรองความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียน
การจัดกิจกรรม / โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์
การสร้างสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
การจัดสิ่งแวดล้อมทางสังคมที่มีผลต่อสุขภาพจิตของนักเรียน
การปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพให้ถูกสุขลักษณะ
การรักษาและฟื้นฟูสุขภาพเด็กวัยเรียน
การรักษาพยาบาลเบื้องต้น การปฐมพยาบาล และการส่งต่อ
การให้บริการรักษาพยาบาลเบื้องต้นในโรคง่ายๆ เช่น ไข้หวัด
การปฐมพยาบาล เช่น นักเรียนเป็นลม มีเลือดกําเดาไหล
การจัดเตรียมห้อง /มุมพยาบาล และจัดหายาและเวชภัณฑ์ที่จําเป็น
การปฐมพยาบาลคนที่มีบาดแผล
การปฐมพยาบาลคนที่ถูกสัตว์กัด แมลงกัดต่อย ได้รับสารพิษ
การส่งต่อนักเรียนไปรับการรักษา
การฟื้นฟูสุขภาพภายหลังการเจ็บป่วย
การจัดบริการเพื่อป้องกันการกลับเป็นซํ้าของโรค
หรือการเจ็บป่วย
การจัดบริการเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วย
การจัดบริการเพื่อส่งเสริมการปรับตัวต่อภาวะการเจ็บป่วย
เรื้อรังและความพิการ
การป้องกันโรคในเด็กวัยเรียน
การเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ
การตรวจสุขภาพนักเรียน
การตรวจการได้ยิน
การตรวจสุขภาพช่องปาก
การทดสอบสายตา
การตรวจร่างกายทั่วไป โดยพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
การชั่งนํ้าหนัก / วัดส่วนสูง
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ
อุบัติเหตุ และอุบัติภัย
การให้วัคซีนป้องกันโรคตามกําหนด
การป้องกันอุบัติเหตุและอุบัติภัยในโรงเรียน
จัดสอนสวัสดิศึกษาหรือให้ความรู้ด้านการป้องกันอุบัติเหตุ/ อุบัติภัย
จัดกิจกรรม / โครงการป้องกันอุบัติเหตุและอุบัติภัยในโรงเรียน
การจัดบริการความปลอดภัยต่างๆ
การจัดการควบคุม ดูแล ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่อาจก่อให้เกิดอันตราย
การดําเนินการเพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในโรงเรียน
การสอบสวนหาสาเหตุของโรค
การจัดกิจกรรมเพื่อตัดหรือยับยั้งการแพร่ / ติดต่อของโรค
การแจ้งความเมื่อมีโรคติดต่อเกิดขึ้นในโรงเรียน
การให้สุขศึกษา
แยกนักเรียนป่วยไปรับการรักษา / แยกนักเรียนที่สัมผัสโรค
งานอนามัยโรงเรียน
ขั้นตอนการดําเนินงานอนามัยโรงเรียน
1 การประเมินสภาวะอนามัยของโรงเรียน
การประเมินสภาวะอนามัยของนักเรียน
การตรวจสายตาและการได้ยิน
วิธีทดสอบสายตา
กรณีมีจํานวนนักเรียนมากให้อ่านอักษรตัวบนสุด แล้วอ่านในระยะ 6 เมตรของคนปกติ
อ่านอักษรตัวบนส ุดลงมาเรื่อยๆจนถึงบรรทัด 6 เมตรของคนปกติ
วัดสายตาทีละข้าง ข้างขวาก่อน ( ปิดตาซ้าย )
กรณีสวมแว่นให้
ทดสอบขณะถอดแว่นก่อน บันทึก “วัดสายตา ไม่สวมแว่น”
แล้วทดสอบโดยสวมแว่น บันทึก “วัดสายตา สวมแว่น”
ทดสอบทีละคน โดยยืนที่ระยะ 6 เมตร
การบันทึกผล
เศษ คือ ระยะทางที่นักเรียนยืน ( 6, 5, 4, 3, 2, 1 เมตร )
ส่วน คือ ระยะตัวอักษรบนแผ่นวัดสายตา ที่คนปกติอ่านได้
( 6, 9, 12, 18, 24, 36, 60 เมตร )
อ่านผิดได้ไม่เกินครึ่ง
การตรวจการได้ยิน
วิธีที่ 1
ผู้ตรวจใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ถูกันเบาๆทางด้านหลังห่างจากหูของนักเรียนประมาณ 1 นิ้ว
วิธีที่ 2
นักเรียนยืนหันหลังห่างจากผู้ตรวจประมาณ 5 ฟุต
เรียกชื่อหรือบอกให้นักเรียนทําตามคําสั่งด้วยเสียงปกติ
การตรวจสุขภาพนักเรียน
การเตรียมตัว
ให้นักเรียนทุกคนพับแขนเสื้อขึ้นปลดกระดุมเสื้อบริเวณหน้าอกออก 1 เม็ด ถอดรองเท้า ถุงเท้า ให้ผู้ตรวจทำท่าต่างๆให้นักเรียนดูและอธิบายถึงเหตุผลของการกระทำนั้นๆ ให้เป็นที่เข้าใจเสียก่อน แล้วให้นักเรียนลองหัดทำจนเห็นว่าเข้าใจดีแล้ว
การตรวจมี 10 ท่า
5 สำหรับนักเรียนหญิงใช้มือขวาเปิดผมไปทัดไว้ด้านหลังหูขวา หนหน้าไปทางซ้าย ส่วนนักเรียนชาย หันหน้าไปทางซ้ายเท่านั้น
6 ในท่าเดียวกันนักเรียนหญิงใช้มือซ้ายเปิดผมไปทัดไว้ด้านหลังหูซ้าย หันหน้าไปทางขวา ส่วนนักเรียนชายหันหน้าไปทางขวาเท่านั้น
4 ปลดกระดุมหน้าอกเสื้อใช้มือทั้ง 2 ข้างดึงคอเสื้อออกให้กว้าง แล้วหมุนตัวไปด้านซ้ายและขวาเล็กน้อย เพื่อจะได้เห็นรอบๆ บริเวณคอทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
7 กัดฟันและยิ้มกว้างให้เห็นเหงือกเหนือฟันบนและเห็นฟันล่างเต็มที
3 งอแขน พับข้อศอก ใช้นิ้วแตะเปลือกตาด้านล่างเบาๆ ดึงเปลือกตาด้านล่างลง พร้อมกับเหลือกตาขึ้น และลง แล้วจึงกรอกตาไปด้านขวาและซ้าย
8 อ้าปากกว้างแลบลิ้นยาว พร้อมทั้งร้อง “อา” ใหศ้ีรษะเอนไปข้างหลังเล็กน้อย
9 สำหรับนักเรียนหญิงให้แยกเท้าออกจากกัน 1 ฟตุ ใช้มือทั้งสองข้างจับกระโปรงดึงขึ้นเหนือเข่า ส่วนนักเรียนชายเพียงแยกเท้าออกจากกัน 1 ฟุต
2 เป็นท่าต่อเนื่องจากท่าที่ 1 คือ คว่ำมือ หงายมือ สิ่งผิดปกติที่ควรสังเกต เช่นเดียวกับท่าที่ 1 คือเกี่ยวกับ เล็บ ผิวหนัง แผล ผนื่ ตุ่มคัน หรือความพิการอื่นๆ เช่น นิ้วเกิน
1 ยื่นมือไปข้างหน้าให้สุดแขนทั้งสองข้าง คว่ำมือกางนิ้วทุกนิ้วสิ่งผิดปกติที่ควรสังเกต คือ เล็บ ผิวหนงั แผล ผื่น ตุ่มคัน หรือความพิการอื่น ๆ เชน่ นิ้วเกิน
10 นักเรียนหญิงและนักเรียนชายอยู่ในท่าที่ 9 ให้กับหลังหัน สังเกตด้านหลังบ้าง แล้วให้เดินไปข้างหน้าประมาณ 4 - 5 ก้าว แล้วเดินกลับหันเข้าหาผู้ตรวจ
การประเมินภาวะโภชนาการ
วัดส่วนสูง ( เซนติเมตร )
กราฟการเจริญเติบโต
Wt / Ht
Ht / Age
Wt / Age
ชั่งนําหนัก ( กิโลกรัม )
การตรวจสุขภาพช่องปาก
การตรวจฟัน
ท่าตรวจร่างกายที่ 7 และ 8
การตรวจเหงือก
การประเมินสภาวะแวดล้อมของโรงเรียน
การสํารวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน
การสํารวจสุขาภิบาลอาหารของโรงเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูลและวินิจฉัยปัญหา
บัญหาด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
ปัญหาด้านสุขภาพอนามัย
4 การประเมินผล
3 การปฏิบัติงานตามแผน
2 การวางแผนแก้ไขปัญหา
การวิเคราะห์สาเหตุ
การจัดทําโครงการ
การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา
การดําเนินงานอนามัยโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคลากรในโรงเรีย
เครื่องมือในการดําเนินงาน
กระบวนการพยาบาล
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
บทบาทพยาบาลชุมชนในการสนับสนุน
จัดสนับสนุนวิชาการ สื่อเอกสารความรู้ด้านสุขภาพแก่โรงเรียน
ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนและชุมชนทํางานร่วมกัน
ประสานงานและให้ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จัดอบรมแกนนํานักเรียนด้านสุขภาพทดแทนรุ่นที่จบจากโรงเรียนไปแล้ว
ร่วมเป็นคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน
ติดตามประเมินผล รวบรวมข้อมูลการดําเนินงาน
ความหมาย
โรงเรียนที่มีขีดความสามารถแข็งแกร่งมั่นคงที่จะเป็นสถานที่ที่มีสุขภาพอนามัยที่ดีเพื่อการอาศัยศึกษาและทํางาน (WHO : World Health Organization)
โรงเรียนที่มีความร่วมมือร่วมใจกันพัฒนาพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ให้เอื้อต่อสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ เพื่อการมีสขภาพดีของทุกคนในโรงเรียน (สํานักส่งเสริมสุขภาพกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข)
องค์ประกอบด้านการส่งเสริมสุขภาพ
การออกกําลังกาย กีฬา และนันทนาการ
การให้คําปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม
โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย
การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
สุขศึกษาในโรงเรียน
การส่งเสริมสุขภาพบุคลาการในโรงเรียน
บริการอนามัยโรงเรียน
นาวสาวอัมพร สุนันต๊ะ 601681