Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิดการพยาบาลอนามัยชุมชน, นางสาวกุลณรัตน์ นราวงษ์ เลขที่ 9 รหัส…
บทที่ 1 แนวคิดการพยาบาลอนามัยชุมชน
แนวคิดการพยาบาลอนามัยชุมชน
กับระบบการสาธารณสุข
การพยาบาลอนามัยชุมชนเป็นการปฏิบัติการพยาบาลในชุมชน
แก่ บุคคล ครอบครัว กลุ่มคนและชุมชน ซึ่งจำเป็นต้องใช้องค์ความรู้ทางการพยาบาลเป็นหลัก รวมถึงองค์รวมความรู้ในศาสตร์สาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้องดังนี้
แนวคิดทฤษฎีทางการพยาบาล เพื่อให้เข้าใจมโนมติเกี่ยวกับมนุษย์
ระบาดวิทยา(Epidemiology) เป็นศาสตร์ทางการสาธารณสุขที่ใช้ในการศึกษาและแก้ปัญกาสุขภาพของชุมชน
สังคมวิทยาและมนุษย์วิทยาทางการแพทย์
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลอนามัยชุมชน
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการดูแลสุขภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
เพื่อสร้างเสริมความร่วมมือและการประสานงานระหว่างทีมสุขภาพ บุคลาการอื่นๆและชุมชนในการศึกษาปัญหา วางแผนและดำเนินโครงการเพื่อพัฒนาสุขภาพชุมชน
เพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อมต่างๆ
ที่มีผลต่อสุขภาพ
เพื่อจัดบริการพยาบาลอนามัยชุมชนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับประโยชน์เต็มที่ในการบริการที่ชุมชนจัดให้
เพื่อศึกษาวิจัยและพัฒนาคุณภาพบริการฯ
หลักการสาธารณสุขมูลฐานและ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความร่วมมือของชุมชนคือหัวใจของการสาธารณสุขมูลฐาน โดยรัฐมัหน้าที่ให้การสบับสนุนช่วยเหลือให้ชุมชนสามารถวิเคราะห์
ปัญหาและแก้ปัญาได้
การสาธารณสุขมูลฐานจึงเป็นกลวิธีทางสาธษรณสุขที่เพิ่มขึ้น
จากระบบบรอการสาธารณสุขที่มีอยู่เดิม โดยให้ความสำคัญในการดำเนินงานสาธารณสุขระดับตำบลและหมู่บ้าน
โดยผสมผสานการให้บริการทั้งด้านการรักษาพยาบาลส่งเสริม สุขภาพการป้องกันโรคและการฟื้นฟูสภาพที่ดำเนินการโดยประชาชนมีส่วนร่วม
การสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน
ชุมชนเข้มแข็ง
การที่ประชาชนในชุมชนรวมตัวกัน มีการเรียนรู้ร่วมกันในการกระทำมีการติดต่อสื่อสารการัดการและ การแก้ไขปัญหาร่วมกันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ความเข้มแข็งของชุมชน
ประชาชนรวมตัวกันและมีการจัดการ จนเกิดทุนทางสังคม
ซึ่งเป็นทุนที่สำคัญที่สุดที่ทำให้เกิดพลังในการแก้ไขปัญาชุมชน
ลักษณะของชุมชนเข้มแข็ง
ประชาชนในชุมชนเป็นผู้มีจิตสำนึก
เป็นชุมชนที่ให้เสรีทางความคิดประชาชนสามารถคิดร่วมกันตัดสินใจได้
มีผู้นำที่ค่อยสร้างโอกาสให้แก่คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
ชุมชนจะเกิดความเข้มแข็งต้องเรียนรู้สิ่งต่อไปนี้
กระบวนการเรียนรู้ชุมชนรู้ถึงความเป็นชุมชนองค์ความรู้ภายในชุมชน
กระบวนการสร้างทุนทางสังคม
มีการเปิดเวทีแลกเปลี่ยนทัศนะความรู้
มีการสร้างเครือข่าย เพื่อระดมหาแนวทางร่วมกันในการพัฒนากันเองภายในเครือข่ายควบคู่
กับการพัฒนาตนเองภายในชุมชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน
เป็นการกระทำโดยไม่มีการบังคับให้ต้องทำหรือไม่ทำ
แต่เป็น
ความสมัครใจที่จะร่วมกันทำอันเป็นการเข้าไป มีส่วนร่วมในการคิดการศึกษา การวางแผนการตัดสินใจ
การร่วมทำกิจกรรม
การมีส่วนร่วม: มิติเชิงกระบวนการ
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
การมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม
การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์
4.การมีส่วนร่วมในการประเมินผล
การมีส่วนร่วม : มิติเชิงผู้มีอำนาจในการตัดสินใจ
Wertheim กล่าวถึงการมีส่วนร่วมไว้ว่า เป็นการที่ประชาชนจะเข้าไปมีบทบาทในกระบวนการตัดสินใจใน
ระดับต่างๆทั้งด้านการบริหาร
การเมือง เพื่อที่จะกำหนดความต้องการของตนเอง
ในชุมชนซึ่งจะนำไปสู่ความสำเร็จในการพัฒนา
การมีส่วนร่วม : มิติเชิงผู้มีส่วนได้เสีย
เป็นการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนได้เสียในชุมชนที่เข้ามามีบทบาทในการดำเนินการพัฒนาของภาครัฐ
นางสาวกุลณรัตน์ นราวงษ์ เลขที่ 9
รหัส 611001401730