Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวช, สมาชิกกลุ่มที่ 19 - Coggle Diagram
ระบบบริการสุขภาพจิต
และจิตเวช
หลักการพื้นฐานของการพยาบาลจิตเวช
คุณลักษณะของพยาบาลจิตเวช
มีความรู้ ความเข้าใจ
เพื่อเป็นแนวทางในการช่วยเหลือ
ยอมรับพฤติกรรมของผู้รับบริการ
หาแนวทางแก้ไขให้ดี
สม่ำเสมอในการกระทำและคำพูด
มีความเป็นอิสระและเชื่อถือในตนเอง
มีความอดทน เห็นอกเห็นใจผู้อื่น
เป็นที่ไว้วางใจ
มีความจริงใจ
แสดงให้ว่า สนใจ เข้าใจ และยินดีช่วยเหลือ จริงใจ
หลักการพยาบาลจิตเวช
Patient need to be accepted exactly as they are
การรับรู้และยอมรับในพฤติกรรมที่ผู้ป่วยแสดงออก
การใช้คำพูด (Verbal)
กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้พูด
ความคับข้องใจต่างๆ
ระบายความรู้สึกไม่สบาย
การใช้พฤติกรรมแสดงการยอมรับ
Self-understanding is uses as a therapeutic tools
ความเข้าใจตนเอง เป็นเครื่องมือในการรักษา
ช่วยในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย
ช่วยในการตอบสนองความต้องการ
Consistency can be used to contribute to the patient security
ความสม่ำเสมอจะช่วยให้เกิดความมั่นคงทางจิตใจ
Reassurance must be given in a suitable
and in an acceptable manner
การให้กำลังใจควรทำอย่างเหมาะสมในท่าทีที่ยอมรับผู้ป่วย
มีไหวพริบที่จะให้กำลังใจในเวลาที่เหมาะสมถูก
จังหวะความต้องการของผู้ป่วย ต้องเป็นความจริง
และไม่ให้กำลังใจมากไปเพราะจะทำให้หมดคุณค่า
Change in patient behavior through emotional experience not by rational interpretation:
พฤติกรรมของผู้ป่วยจะเปลี่ยนได้เมื่อผู้ป่วยมีประสบการณ์ทางอารมณ์
ส่วนการให้เหตุผล (Rationalinterpretation)
การอธิบายโดยใช้เหตุผลเพื่อให้บุคคลเปลี่ยนความคิด
ซึ่งประสบการณ์ทางอารมณ์ (Emotional experience)
ความรู้สึกนึกคิดที่เกิดจากการได้พบเห็นสิ่งต่างๆ
Avoiding increase in patient anxiety
หลีกเลี่ยงการเพิ่มความวิตกกังวล ให้กับผู้ป่วย
ไม่ไปสร้างความกระทบกระเทือนใจผู้ป่วย
Observation of mentally ill patient directed
toward “Why” of behavior
การสังเกตผู้ป่วยด้วยการใช้คำถามกับตนเองว่า “ทำไม”
พยาบาลจึงควรมีลักษณะ 3 ประการ คือ
มีการตระหนักรู้ในตนเอง (Awareness)
มีการตื่นตัวและไว (Alertness)
สังเกตอย่างตรงไปตรงมา (Objectivity)
Realistic nurse-patient-relationship
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและ ผู้ป่วย
จะต้องมีระยะเวลาเริ่มต้น
ระยะของการสร้างสัมพันธภาพ
ระยะสิ้นสุดสัมพันธภาพ
Nursing care centered on patient as a person not on control of symptoms
การพยาบาลต้องคำนึงถึงความเป็นบุคคลและปัญหาของผู้ป่วย
Routines and procedures explained at patients level of understanding
กิจวัตรประจำวันหรือกิจกรรมต่างๆ ควรอธิบายตามระดับความเข้าใจของผู้ป่วย
Verbal and physical force avoided if possible
หลีกเลี่ยงการใช้ คำพูดหรือกำลังบังคับผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น
Many procedures modified but basic principle unaltered
วิธีการต่างๆ ในการให้การพยาบาลเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมแต่หลักการต้องคงเดิม
เจตคติต่อการเจ็บป่วย
1.
ความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและจิตใจแยกออกจากกันไม่ได้
ร่างกายและจิตใจต้องอยู่ในภาวะสมดุล
สิ่งคุกคาม
ทำให้เกิด ความวิตกกังวล
ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีระ ชีวเคมีและแสดงออกให้เห็นทางร่างกาย
2
มนุษย์ทุกคนมีคุณค่าและศักดิ์ศรีของตนเอง
พยาบาลต้อง
เข้าใจและยอมรับ
ช่วยเหลือ และให้ความสนใจอย่างเท่าเทียม
3.
ทุกคนต้องการความช่วยเหลือประคับประคองด้านจิตใจ
พยาบาลควร
มีเจตคติที่ยอมรับ เข้าใจ ประคับประคอง
มีท่าที นุ่มนวล รับฟังความคิดเห็น ให้กำลังใจ
4.
ทุกคนมีความต้องการทางด้านร่างกายและอารมณ์
อิทธิพลต่อสุขภาพ
ที่อยู่อาศัย ความ อบอุ่น
อาหาร เสื้อผ้า
การสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม
ต้องการทางด้านอารมณ์
5.
การสื่อสารเป็นการแลกเปลี่ยนในสังคม ทั้ง
การพูด การเขียน
การแสดงสีหน้า ท่าทาง และน้ำเสียง
6.
การรับรู้เกี่ยวกับความเป็นจริงเป็นลักษณะเฉพาะตัว
เมื่อมีเหตุการณ์ คล้ายคลึงกันเกิดขึ้น
อาจกระตุ้นให้เกิดอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดขึ้นมาได้
7.
การสำนึกระมัดระวังตนเอง (Self-awareness)
8.
อัตมโนทัศน์เกิดจากอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงในสังคม
9.
ความคิด ความรู้สึก อารมณ์และปฏิกิริยาก่อให้เกิดพฤติกรรม
รับรู้ได้จากการสังเกต
10.
พฤติกรรมทุกอย่างมีความหมาย
11.
พฤติกรรมไม่คงที่
พยาบาลต้อง
คาดการณ์ให้ได้ว่าเกิดจากสาเหตุอะไร
ให้การช่วยเหลือ รับฟัง อธิบาย
ให้ความเชื่อมั่น เพื่อให้ผู้ป่วยไว้วางใจ
12.
ความเครียดอาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายใน ภายนอกและความจำเป็นอื่นๆ
พยาบาลต้อง
ค้นหาสาเหตุ อาการ
ช่วยผู้ป่วยในการปรับตัวต่อความเครียด
13.
บุคคลมีความสามารถในการเผชิญ(Coping)กับความเครียดที่แตกต่างกัน
ขึ้นอยู่กับความแข็งแกร่งและกลไกการปรับตัวต่อความเครียด
14.
การเจ็บป่วยเป็นการเรียนรู้ชนิดหนึ่ง
พยาบาลควร
ให้ความรู้เรื่อง เพื่อช่วยลดความวิตกกังวล ดังนี้
เจตคติ
พฤติกรรม
15.
ความสนใจและแนวถนัดตามธรรมชาติของแต่ละบุคคลเป็นพลังในการพัฒนาบุคลิกภาพ
16.
การเจริญเติบโตของมนุษย์และพัฒนาการทางบุคลิกภาพ
มาจากกระบวนการที่ซับซ้อนในประสบการณ์ชีวิตของบุคคล
17.
มโนทัศน์เกี่ยวกับความเจ็บป่วยอาจมาจาก
วัฒนธรรม
สังคม
ครอบครัว
ความคิด
ความเชื่อ
อาจมีอิทธิพลต่อ
การเจ็บป่วย
การรักษา
การหายจากความเจ็บป่วย
18.
ความเจ็บป่วยอาจทำให้การทำหน้าที่ของชีวิตผันแปรหรือต้องพึ่งพาผู้อื่น
พยาบาลต้อง
ช่วยประคับประคองด้านอารมณ์
หาทางช่วยให้ผู้ป่วยมีภาพลักษณ์ (Self-image) ที่ ดี และยอมรับข้อจำกัดของตัวเอง
19.
การฟื้นฟูสมรรถภาพเป็นหัวใจของการบำบัด
เพื่อให้ผู้ป่วยกลับสู่สภาวะที่ดีที่สุดทั้งด้าน
ร่างกาย
จิตใจ
สติปัญญา
20.
การฟื้นฟูสมรรถภาพเป็นอิทธิพลจากความร่วมมือของผู้ป่วยและครอบครัว
ระบบการดูแลอย่างต่อเนื่อง
ขอบเขตของงานสุขภาพจิตและจิตเวชในระบบสาธารณสุขของประเทศไทย
กรมสุขภาพจิต
เป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบนโยบายและยุทธศาสตร์ สุขภาพจิตระดับประเทศ
ให้การสนับสนุนทางวิชาการและเทคโนโลยีแก่หน่วยบริการสุขภาพใน ระบบสาธารณสุข
ให้บริการจิตเวชเฉพาะทางในโรงพยาบาลหรือสถาบันจิตเวชศาสตร์งาน
งานบริการสุขภาพจิต
จะครอบคลุม
บริการบำบัดรักษาฟื้นฟู
การส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต
มีโรงพยาบาลจิตเวชและสถาบันจิตเวชศาสตร์ 17 แห่ง
กระจายอยู่ทุกภาคทั่วประเทศ
ให้บริการ
ผู้ป่วยใน
ผู้ป่วยนอก
ผู้ป่วยจิตเวชยุ่งยากซับซ้อน
ฟื้นฟูผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง
4 แห่ง
เป็นโรงพยาบาลและสถาบันจิตเวชที่ให้บริการเฉพาะเด็กและวัยรุ่น
1 แห่ง
เป็นสถาบันที่มีความเชี่ยวชาญด้านนิติจิตเวช
มีการจัดตั้งศูนย์วิกฤตสุขภาพจิต
เพื่อสนับสนุนและแนะนำผู้ที่ทำหน้าที่จัดการสถานการณ์ในภาวะวิกฤต
การบูรณาการงานสุขภาพจิตเข้าสู่ระบบบริการสาธารณสุขแต่ละระดับ
1) การดูแลสุขภาพด้วยตนเองในระดับครอบครัว
เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี
ให้การดูแลรักษาผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
ช่วยให้สามมารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในชุมชนที่อยู่อาศัย
2) บริการสาธารณสุขมูลฐาน
(Primary Health Care Service Level: PHC)
ดำเนินการโดย
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
ที่ได้รับการคัดเลือก จากชุมชน
ประชาชน
ให้บริการสาธารณสุขมูลฐาน
ให้สุขภาพจิตศึกษา
คัดกรองปัญหา สุขภาพจิต
ให้การช่วยเหลือ ประคับประคองด้านจิตใจ
ให้การช่วยเหลือ ประคับประคองด้านจิตใจ
สนับสนุนให้มีการดูแลผู้ป่วยจิตเวชต่อเนื่อง
ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วม ในกิจกรรมสุขภาพจิต
3) บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ (Primary Medical Care Level: PMC)
บริการรักษาพยาบาลระดับแรก
ที่ให้บริการโดยบุคลากรสาธารณสุขระดับตำบล
การคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต การให้การปรึกษา การผสมผสาน การดูแลสุขภาพจิตในงานอื่น
การติดตามดูแล ผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
การเยี่ยมบ้านการฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชน
ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของชุมชนในการดูแลสุขภาพจิต
4) บริการสุขภาพระดับทุติยภูมิ (Secondary Medical Care Level: SMC)
ดำเนินการโดยโรงพยาบาลชุมชน
หน่วยบริการที่ให้บริการรักษาผู้ป่วยนอก
วินิจฉัยและรักษาโรค
จิตเวชที่พบบ่อย
ติดตามดูแลรักษาผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังอย่างต่อเนื่อง
ช่วยเหลือฟื้นฟูจิตใจในภาวะ วิกฤต
ให้การปรึกษาแนะนำและช่วยเหลือ
หน่วยบริการสาธารณสุขมูลฐาน
หน่วยบริการปฐมภูมิ
ผสมผสานงานสุขภาพจิตกับงานเวชปฏิบัติทั่วไป
5) บริการสุขภาพระดับตติยภูมิ (Tertiary Medical Care Level: TMC)
ให้บริการเฉพาะทางโดยผู้เชี่ยวชาญ
ในโรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาลศูนย์คณะแพทย์ศาสตร์ของ มหาวิทยาลัย
โรงพยาบาล/สถาบันจิตเวช
มีจิตแพทย์ร่วมกับทีมสหวิชาชีพให้บริการจิตเวช ครบวงจร
ตรวจประเมิน
วินิจฉัย
บำบัดรักษาฟื้นฟู
ส่งเสริมสนับสนุน เครือข่ายสาธารณสุขให้สามารถจัดบริการสุขภาพจิตชุมชนและพัฒนาศักยภาพบุคลากร
เครือข่ายและบริการสุขภาพจิตชุมชน
เนินการผ่าน
โรงเรียน
วัด
องค์กรท้องถิ่นต่างๆ
ส่งเสริมสุขภาพจิต และการป้องกันปัญหา
เป้าหมาย
ดูแลรักษาผู้ป่วยจิตเวชอย่างต่อเนื่อง
สนับสนุนให้ผู้ป่วย สามารถดำเนินชีวิตอยู่ในชุมชน
มีการจัดตั้งชมรมญาติและผู้ป่วยจิตเวชเพื่อให้การช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน
เป็นตัวแทนในการเรียกร้องสิทธิให้ผู้ป่วย
ให้ชุมชนตระหนักถึงปัญหาและจัดหาแหล่ง สนับสนุนที่เหมาะสมด้วยตัวเอง
ลักษณะการจัดบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
บริการผู้ป่วยใน (In-patient services)
ให้บริการแก่ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตขั้นรุนแรง
เพื่อ
บำบัดโดยการให้ยา
ทำจิตบำบัดรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
จัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด จนกว่าจะมีอาการดีขึ้น
มักใช้เวลาในการทำกิจกรรมสั้นแต่มีสิทธิผลมากที่สุด
บริการผู้ป่วยนอก (Out-patient services)
ให้บริการแก่ ผู้ป่วยจิตเวชที่ไม่จำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
เป็นการรักษาระยะสั้น
การนัดผู้ป่วยเก่าให้มารับยา
ผู้ป่วยใหม่ที่มาขอเข้ารับการบำบัด
มีหน่วยเคลื่อนที่หรือจัดเป็นศูนย์ย่อยระดับหมู่บ้าน
บริการจิตเวชฉุกเฉิน (Emergency services)
ให้บริการตรวจรักษาตลอด 24 ชั่วโมง ในผู้ป่วยที่
มีปัญหาทางจิตกะทันหัน
ตกอยู่ในภาวะวิกฤต เช่น
ผู้ป่วยเอะอะ อาละวาด
ผู้ป่วยพยายามฆ่าตัวตาย
ผู้มีปัญหาทางจิตเรื้อรัง
ผู้ติดสารเสพติด
ผู้ป่วยที่มีอาการกำเริบ
บริการผู้ป่วยเฉพาะบางเวลา (Partial hospitalization services)
ให้บริการแก่ผู้ป่วยที่มีอาการดีขึ้นแล้ว แต่ยังไม่สามารถกลับคืนสู่ครอบครัวหรือสังคมได้อย่าง เต็มตัว
ช่วงเวลาในการให้บริการ
บริการโรงพยาบาลกลางวัน (Day hospital)
มีการจัดให้ผู้ป่วยเข้ากลุ่มบำบัด
เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการปรับตัวได้ดีและ เร็วขึ้น
บริการโรงพยาบาลกลางคืน (Night hospital)
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองเห็นคุณค่าในตนเอง
ให้บริการแต่ในตอนกลางคืนส่วนตอนกลางวันสามารถไปทำงานได้ตามปกติ
บริการให้คำปรึกษาและการศึกษา (Consultation and education services)
โดยบริการ
ให้การปรึกษา
แนะแนว
จัดฝึกอบรม
เผยแพร่ความรู้แก่บุคลากรในหน่วยงาน ต่างๆ
ชุมชนให้มีความรู้ทางสุขภาพจิตและจิตเวช
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดูแล สุขภาพจิต
ส่วนบุคคล
ครอบครัว
ชุมชน
สามารถหลีกเลี่ยงหรือเผชิญกับภาวะกดดัน
สามารถ แก้ปัญหา และปรับตัวได้
เมื่อเจ็บป่วยก็สามารถเข้ารับการรักษาได้ถูกต้องรวดเร็ว
สามารถใช้แหล่ง บริการทางสุขภาพ และหน่วยงานบริการสวัสดิการทางสังคมได้
บริการแบบอื่นๆ
บริการสุขภาพจิตเด็ก (Service of children)
บ ำบัดรักษา
มีปัญหาทางอารมณ์
มีปัญหาทางพฤติกรรม
ฟื้นฟูสภาพ
มีปัญหาทางความคิด และสติปัญญา บกพร่อง
ตรวจวินิจฉัย
ที่มีปัญหาทางจิตใจ
บริการสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ (Service of elderly)
บำบัดรักษา
ผู้สูงอายุที่มัปัญหาสุขภาพจิต
ฟื้นฟูสภาพ
ผู้สูงอายุที่มีปัญหาที่สมอง
ตรวจวินิจฉัย
ผู้สูงอายุปกติ
การตรวจคัดกรอง (Screening)
ให้ได้รับการรักษาโดรเร็วเพื่อ
ป้องกันการป่วยเรื้อรัง
ส่งต่อให้ได้รับการรักษาที่เหมาะสม
บริการติดตามผู้ป่วยที่เพิ่งได้รับการจำหน่าย (Follow up care for discharge client) และส่งต่อข้อมูลให้กับสถานบริการใกล้บ้าน
บริการบำบัดรักษาโรคพิษสุราเรื้อรัง ผู้ที่ได้รับยาและสารเสพติด (Alcohol and drug abuse and dependence service)
บริการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ (Training program for health profession)
เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลวิชาชีพต่างๆ
บริการศึกษาค้นคว้าวิจัยและการประเมินผล (Research and evaluation)
เพื่อหาแนวทางป้องกัน ส่งเสริม และจัดบริการสุขภาพที่เหมาะสมยิ่งขึ้น
การดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่บ้าน (Psychiatric home care)
เป็นการดูแลแบบต่อเนื่อง
เน้นในสามารถพึ่งพาตนเองได้ สามารถเผชิญกับปัญหาได้ สามารถปรับตัวและดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข
ครอบครัว และชุมชนจะเข้ามาช่วยกันดูแล
ลักษณะและขอบเขตงาน 4 มิติ
1) การส่งเสริมสุขภาพจิต (Promotion of Mental Health)
เป็นการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตขั้นต้น (Primary prevention)
โดยมีหลักการว่าสุขภาพจิตดีมีพื้นฐานจาก
การกำเนิดที่ดี
มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
ได้รับความรักความอบอุ่นจาก
มารดา
บิดา
ผู้เลี้ยงดู
มีการแสดงออกที่เหมาะสม
เชื่อมั่นในตนเอง
ยอมรับตนเอง
การปฏิบัติการพยาบาล
การให้ความรู้ประชาชนในเรื่องสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตเกิดขึ้นได้กับบุคคลทุกเพศทุกวัย
เพราะ
ช่วงชีวิตของมนุษย์มี
การเจริญเติบโตการพัฒนาการตามวัย (Growth and Development)
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
ความรับผิดชอบตามหน้าที่ของบุคคลในสังคม
ซึ่งอาจมีเหตุปัจจัยที่ทำให้เกิด
4 more items...
การปฏิบัติการพยาบาล
ต้องทำต่อเนื่องเพื่อให้บุคคลได้รักษาระดับของสุขภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ
หน้าที่ของพยาบาล
ให้ความรู้
ช่วยเหลือ
1 more item...
3) การบำบัดรักษา (Therapeutic or Restoration of Mental Health)
บุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิต
หากไม่ขจัดให้หมดไป
อาจทำให้เป็น
เป็นโรคจิต
โรคประสาท
การปฏิบัติการพยาบาล
ให้คำแนะนำช่วยเหลือ
ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต
ผู้ที่เจ็บป่วยทางจิต
1 more item...
กิจกรรมการพยาบาล
เช่น
3 more items...
4) การฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation of Mental Health)
ผู้ที่เจ็บป่วยทางจิตใจ
ขาด
ความสนใจตนเอง
สิ่งแวดล้อม
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ความสามารถในการเข้าสังคม
การดูแลช่วยเหลือตนเอง
การปฏิบัติการพยาบาล
ฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
ซึ่งจัดเป็นการป้องกันขั้นที่ 3(Tertiary prevention)
1 more item...
บทบาทพยาบาล
ระดับพื้นฐาน
เป็นผู้จัดสรรสิ่งแวดล้อมเพื่อการรักษา
คือ
สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับบุคคล
เช่น
บุคลากรในทีมพยาบาลทุกคนต้องมีเจคติที่ดีต่อผู้รับบริการ
ยอมรับพฤติกรรมผู้รับบริการ
หน้าที่ของพยาบาล
จัดสภาพหอผู้รับบริการให้คล้ายบ้าน
โดยคำนึงถึง
ความสะดวกสบาย
ความเป็นสัดส่วน
ความสวยงาม
สุขอนามัย
บทบาทหน้าที่ระดับสูงหรือระดับผู้เชี่ยวชาญ
1) เป็นที่ปรึกษา
มีความรู้ความสามารถเฉพาะทาง
บุคคลที่มีปัญหาหรือตกอยู่ในภาวะวิกฤต เพื่อลดความเครียด
2) เป็นผู้ติดต่อให้ความร่วมมือ
การให้การช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในแผนกต่าง ๆ ของโรงพยาบาล
ประเมินพฤติกรรมให้การวินิจฉัย
วางแผนการพยาบาลแก่ผู้รับบริการ
4) เป็นผู้นำการบำบัด
สร้างสัมพันธภาพกับผู้รับบริการเชิงการรักษา
การทำจิตบำบัดประคับประคอง
เป็นผู้ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้รับบริการ
เป็นผู้ให้ความรู้
เป็นผู้นิเทศงานหรือประสานงาน
3) เป็นผู้บำบัดรักษาเบื้องต้น
พยาบาลจิตเวชเป็นผู้ชำนาญการเฉพาะทาง
มีหน้าที่
คัดกรองผู้รับบริการ
ให้การบำบัดรักษาเบื้องต้น
ชุมชน
โรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาลจิตเวช
ในขั้นต้นอาจให้คำปรึกษา
ให้จิตบำบัดประคับประคองให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์
พยาบาลจิตเวช
ต้องดำรงไว้ซึ่งสิทธิของผู้ป่วยและคุณภาพของงานบริการ
ต้องสวมหน้าที่หลายบทบาทในเวลาเดียวกัน
ได้แก่
บทบาทของพยาบาล
บทบาทของผู้ร่วมทีมสุขภาพจิต
บทบาทของพลเมืองในสังคม
บทบาทอิสระ กึ่งอิสระ และไม่อิสระ
บทบาทอิสระ
งานที่พยาบาลทำได้โดยตัดสินใจเอง
บทบาทกึ่งอิสะ
งานที่พยาบาลตัดสินใจ ภายใต้กรอบของสหวิชาชีพ
บทบาทไม่อิสระ
งานที่พยาบาลทำโดยรับคำสั่งจากวิชาชีพอื่น
สมาชิกกลุ่มที่ 19
นางสาวกัญญาณัฐ สมประสงค์ เลขที่ 4 62111301005
นางสาวปาลิตา ชูกร เลขที่ 49 62111301051
นางสาวศศิประภา รูปสงค์ เลขที่ 80 62111301083
นางสาวศศิภัทร ธุระแพง เลขที่ 81 62111301084
นางสาวสาวิตรี ออมสิน เลขที่ 108 62111301111