Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 การทบทวนวรรณกรรมและ การสร้างกรอบแนวคิดการวิจัย, นางสาว…
หน่วยที่ 3
การทบทวนวรรณกรรมและ
การสร้างกรอบแนวคิดการวิจัย
3.1 แนวคิดเกี่ยวกับการ
ทบทวนวรรณกรรม
ประเภทและแหล่งที่มา
ประเภท
ปฐมภูมิ : เกิดจากการคิดค้น,พิสูจน์,วิจัย
โดยตรงของผู้สร้างงาน มีความน่าเชื่อถือสูง
ทุติยภูมิ : เกิดการการผสมผสาน,บูรณาการ
ของชั้นปฐมภูมิ หรือทุติยภูมิด้วยกันเอง
แหล่งที่มา
ห้องสมุด, อนนไลน์, สารบัญเอกสาร,
บรรณานุกรม, ดัชนีวารสาร
ชนิดของวรรณกรรม
นักวิจัยมักอ้างอิงมาใช้บ่อยๆ มีดังนี้
บทความทางวิชาการ
บทคัดย่อและรายงานผลการวิจัย
หนังสือตำรา
พจนานุกรม
สารานุกรม
ปริทัศน์งานวิจัย
คู่มืิรายงานประจำปี
วรรณกรรมที่เป็นบันทึกภาพหรือเสียง
ฐานข้อมูล CD-ROM
ฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
แนวทางการทบทวนฯ
วางโครงเรื่อง :
เสมือนการกำหนดทิศทางในการ
ทบทวนวรรณกรรม
รวบรวมวรรณกรรม :
อ่านและประเมินเบื้องต้น จากนั้นคัดลอก,จัดเก็บข้อมูล,
บันทึกรายการ,ลำดับเหตุการณ์ตามโครงเรื่อง และ
อ้างอิงที่มา
ความหมายและความสำคัญ
ความหมาย :
เป็นการศึกษาค้นคว้า แนวคิด ทฤษฎี และผลงาน
วิจัยที่เกี่ยวข้อง แล้วนำมาประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์
ออกมาเพื่อสนับสนุนความเห็นและเหตุผลของ นศ.
เกี่ยวกับปัญหาการวิจัยที่กำหนดไว้
ความสำคัญ :
เสริมสร้างองค์ความรู้
สร้างมุมมองแปลกใหม่
ได้ทราบว่าเรื่องที่วิจัยมีเรื่องใดเกี่ยวข้องบ้าง
สร้างสมประสบการณ์ในการวิจัย
3.2 การทบทวนวรรณกรรมและ
การเรียบเรียงวรรณกรรม
การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์
วรรณกรรม
การวิเคราะห์วรรณกรรม
เพื่อให้เข้าใจส่วนประกอบและ
สาระสำคัญของวรรณกรรม
เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ทั้งหมด รวมรวม
ออกมาเป็นเรื่องเดียวกัน
การสังเคราะห์วรรณกรรม :
จับประเด็นหลัก มารวมกันเป็นแนวคิดรวม
แทนเนื้อหาที่ยกมาทั้งหมด มักพบ 2 ลักษณะ คือ
เรียงร้อยถ้อยบความ
บูรณาการ
การประเมินวรรณกรรม :
ช่วงแรก : ประเมินเบื้องต้น
เน้นความเกี่ยวกับ วพ.
ช่องที่ 2 : ประเมินเนื้อหา ถูกต้อง ชัดเจน
น่าเชื่อถือ ทันสมัย และมีประโยชน์
การเรียบเรียงวรรณกรรม
กำหนดโครงสร้าง
แบบที่ 1 : แยกเป็น 2 ตอน
ตอนแรก บทนิยาม แนวคิด ทฤษฎี
ตอนที่2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แบบที่ 2 : บูรณาการเนื้อหาสาระ
โดยคำนึงถึงหัวข้อที่ศึกษา
วิธีการเรียบเรียง
เรียบเรียงเนื้อหาสาระวรรณกรรม
ลำดับการนำเสนอ
ตามหัวข้อเนื้อหา
ลำดับตามเวลา พ.ศ.
3.3 การสร้างกรอบความคิดการวิจัยและ
การกำหนดสมมติฐานการวิยจัย
การกำหนดสมมติฐานการวิจัย
สมมติฐานแบ่งเป็น 2 ชนิด
สมมติฐานทางวิจัย
สมมติฐานทางสถิติ
คือ ข้อความที่เกิดจากการคาดการณ์
ของ นศ.ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของตัวแปร
2 ตัวแปรขึ้นไป สมมติฐานต้องชัดเจน
เป็นรูปธรรม วัดได้ ทดสอบได้
การสร้างกรอบความคิดการวิจัย
คือ การประมวลความคิดรวบยอดที่
นศ.กำลังศึกษาอยู่โดยแยกเป็นตัวแปรหลัก
ตัวแปรรองระบุความสัมพันธ์เชิงเหตุผล
ระหว่างตัวแปรที่ต้องการศึกษา
นำเสนอในรูปแบบ ความเรียง หรือตาราง
หรือแผนภูมิก็ได้ ที่นิยมทำคือ นำเสนอในรูปแผนภูมิ
นางสาว สุดลาภา เทพทอง 2649002405