Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 การเขียนและการสอบ โครงการวิทยานิพนธ์, นางสาว สุดลาภา เทพทอง…
หน่วยที่ 5
การเขียนและการสอบ
โครงการวิทยานิพนธ์
5.3 การสอบโครงการวิทยานิพนธ์
ความหมาย, ความสำคัญ
ความหมาย :
เป็นการนำเสนอรายละเอียดของโครงการฯ
ต่อคณะกรรมการสอบและตอบข้อซักถามต่างๆ
เกี่ยวกับโครงการ วพ.นั้นจนได้รับความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการ
ความสำคัญ :
ช่วนให้นศ.สื่อสารความคิดที่ชัดเจนเกี่ยวกับ วพ.ที่ดำเนินการ
ช่วยให้ อ.ที่ปรึกษา และผู้ทรงฯได้ประเมินความรู้
ความสามารถของ นศ.
เปิดโอกาสในการสื่อสารของ อ.ที่ปรึกษา และ นศ.ได้
ร่วมกันอภิปราย
เป็นการให้ นศ.แสดงความสามารถในการให้เหตุผล
ตามหลักวิชาการ
การเตรียมความพร้อม
นศ.ต้องเตรียมความพร้อม 8 ด้าน ดังนี้
ส่งโครงการฯล่วงหน้าแก่กรรมการ
ทบทวนโครงการฯ ทำความเข้าใจ
เตรียมเนื้อหานำเสนอตามแบบ บศ.004
จัดเตรียมสื่อประกอบการนำเสนอ
วางแผนการนำเสนอคำนึงถึงวัตถุประสงค์
ประเด็น และระยะเวลา
ซักซ้อมการนำเสนอ
ประเมินการซักซ้อมการนำเสนอ
ก่อนนำเสนอตรวจสอบการติดตั้งเครื่องมือ สื่อ
และความพร้อม
แนวปฏิบัติในการสอบ
ขั้นแนะนำตัว
ขั้นนำเสนอ และตอบข้อซักถาม
นำเสนอส่วนเนื้อหา สรุปภาพรวมโครงการ
นำเสนอตามลำดับ ใช้เวลาประมาณ 30 นาที
ตอบข้อซักถาม ตอบให้ตรงคำถาม สั้นกระชับ
อธิบายเหตุผลน่าเชื่อถือ
ยอมรับคำท้วงติง รับฟังด้วยใจกว้างและมีเหตุผล
5.2 การเขียนโครงการวิทยานิพนธ์
การเขียนโครงการฯ
ความหมาย :
เป็นแนวทางการจัดทำวิทยานิพนธ์ที่ นศ.
นำเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ว่าจะทำวพ.
เรื่องอะไร มีความสำคัญอย่างไร
ทำกับใคร ดำเนินการอย่างไรบ้าง
ประกอบด้วย 13 ประการตามมี่มหาลัยกำหนด
การเขีบนต้องมีความชัดเจน ถูกต้อง
มีความครบถ้วน สัมพันธ์สอดคล้องกัน
และมีความต่อเนื่อง
การประเมินโครงการฯ
ความหมาย :
เป็นกระบวนการพิจารณาตัดสินว่า วพ.มีความ
ครบถ้วน เหมาะสม มีความเหมาะสมที่จะดำเนินการ
เพียงใด มีคุณค่าและคุณภาพเพียงใด
หลักพิจารณา 12 ข้อ ดังนี้
1.ชื่อเรื่องวิจัย
2.ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
3.กรอบความคิดทางทฤษฎี
4.วัตถุประสงค์ของการวิจัย
5.ประเด็นปัญเหาการวิจัย
6.สมมติฐานการวิจัย ถ้ามี
7.ขอบเขตการวิจัย
8.คำจำกัดความ
9.ระเบียบวิธีวิจัย
10.กำหนดแการดำเนินงานวิจัย
11.ทรัพยากรที่ใช้ในการวิจัย
12.แนวทางการนำเสนอรายงาน วพ.
กรณีตัวอย่าง
หลักการเขียน
1.หลักความถูกต้อง
2.หลักความชัดเจน
3.หลักความสัมพันธ์สอดคล้อง
4.หลักความครบถ้วนสมบูรณ์
5.หลักความต่อเนื่อง
6.หลักความสม่ำเสมอ
7.หลักความเหมาะสม
8.หลักความเป็นไปได้
9.หลักความมีจริยธรรมและจารรยาบรรณ
5.1 แนวคิดเกี่ยวกับโครงการ
วิทยานิพนธ์
องค์ประกอบ
โครงร่างวิทยานิพนธ์
โครงการวิทยานิพนธ์ประกอบด้วย 13 ข้อดังนี้
ชื่อเรื่องวิจัย
ความเป็นมา ความสำคัญเรื่องที่วิจัย
กรอบความคิดทางทฤษฎี
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ประเด็นปัญหาการวิจัย
สมมติฐานการวิจัย
ขอบเขตการวิจัย
คำจำกัดความ
ความสำคัญของเรื่องที่วิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
กำหนดการดำเนินงานวิจัย
ททรัพยากรที่ใช้
แนวทางเสนอรายงานวิทยานิพนธ์
ขั้นตอนการนำเสนอ
การจัดทำโครงการวิทยานิพนธ์
ดำเนินการได้เมื่อโครงร่าง วพ.
ได้รับการอนุมัติแล้ว
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
มีขั้นตอนตามกระบวนการที่มหาวิทยาลัยกำหนด
การจัดทำโครงร่างวิทยานิพนธ์
เสนอประเด็นสำคัญของ วพ.
ตามแบบ บศ.002
ความหมาย,ความสำคัญ
วัตถุประสงค์
ความสำคัญ :
ช่วยให้ นศ.ทำวิทยานิพนธ์ได้อย่างถูกต้อง
ชัดเจนและเหมาะสม
เป็นแนวทางดำเนินงานวิจัย
ช่วยให้ นส.ดำเนินงานวิจัยตามขั้นตอน
ได้อย่างชัดเจน
เป็นคู่มือดำเนินงานวิจัยให้สำเร็จตามเวลาที่กำหนด
เป็นเครื่องมือสื่อสารระหว่าง นศ. กับอาจารย์และสถาบัน
เป็นเครื่องมือกำกับ ติดตาม ประเมินความก้าวหน้า
ของการทำวิทยานิพนธ์
วัตถุประสงค์ :
เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการวิจัย
เพื่อให้นศ.ดำเนินการวิจัยเป็นขั้นเป็นตอนตามแผน
เพื่อใช้เป็นเอกสารเสนอขออนุมัติ
ดำเนินการวิจัยต่อมหาลัย
เพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการเสนอ
รับทุนอุดหนุนการวิจัย
ความหมาย :
เป็นแผนการจัดทำวิทยานิพนธ์ ที่เสนอเป็น
ลายลักษณ์อักษร ตามหัวข้อที่กำหนดในแบบเสนอ
โครงการของมหาวิทยาลัย
นางสาว สุดลาภา เทพทอง 2649002405