Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Atrial fibrillation with Hypertension with Acute kidney injury - Coggle…
Atrial fibrillation with Hypertension
with Acute kidney injury
Atrial fibrillation
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ โดยที่หัวใจห้องบนจะเต้นเร็วกว่า 300 ครั้ง/นาที จะทำให้เกิดอาการใจสั่น หัวใจล้มเหลว หัวใจห้องบนไม่สามารถบีบตัวพร้อมกันได้ทั้งหมด ส่งผลให้หัวใจห้องบนบีบตัวได้ไม่ดี เกิดมีลิ่มเลือดตกค้างอยู่ในหัวใจ ลิ่มเลือดอาจหลุดออกจากหัวใจไปอุกตันหลอดเลือดต่างๆ ของร่างกายได้
การวินิจฉัย
การซักประวิติผู้ป่วยอาจมีอาการที่ แตกต่างกัน เช่น ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายเป็นต้น นอกจากนี้ประเด็นที่ควรซักประวัติเพิ่มเติมคือ โรคประจำาตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไทรอยด์ โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) 12 leads
การตรวจร่างกาย : อัตราการเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอไม่พบเพียง S4 เนื่องจากไม่มีการบีตัวที่มีประสิทธิภาพของหัวใจห้องบน
การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
การเอ็กซเรย์ปอด (chest X-ray)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการตรวจที่สำคัญ ได้แก่ Complete Blood Count(CBC) และ Thyroid Function Test (TFT)และการทำงานของตับ ไต
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเป็นโรคความดันโลหิตสูงมา 4 ปีและโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะมา 3 ปี
การตรวจร่างกายพบอัตราการเต้นของหัวไม่สม่ำเสมอ และบวมกดบุ๋ม 2+ บริเวณขาทั้ง 2 ข้าง
ผล CBC
PT 40.3 H
HCT 22.7 L
10/1/66 :star:
Creatinine 1.25 H
BUN 40 H
eGFR 41.0 mml/min
19/1/66 :star:
Creatinine 1.17 H
BUN 27 H
eGFR 44.4 mml/min
สาเหตุ
โรคความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจหลอดเลือดตีบตัน
โรคลิ้นหัวหัวใจผิดปกติ
โรคกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์สูงเกิน
กรณีศึกษา
มีโรคประจำตัวเป็นโรคความดันโลหิตสูงมา 4 ปี
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
ใจสั่น หายใจลำาบาก
ความดันโลหิตต่ำและหมดสติ
เจ็บแน่นหน้าอก หัวใจเต้นเร็ว
ปวดศีรษะ
กรณ๊ศึกษา :
มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก หายใจลำบาก เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ใจสั่น หัวใจเต็นเร็ว
การรักษา
การดูแลเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือด
สมองมักจะป้องกันด้วยการให้ยาต้านการแข็งตัวของ
เลือด (anticoagulant) เช่น Warfarin พื่อลดปัจจัย
เสี่ยงของการเกิดลิ่มเลือดไปอุดตันอวัยวะต่างๆ
เช่น สมอง เป็นต้น ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดต้องเฝ้าระวังภาวะเลือดออกง่าย
การควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจกลุ่มยาที่ใช้ส่วนใหญ่คือ Beta-Blocker เช่น Propranolol และ Calcium Channel Blocker เช่นVerapamil และ Diltiazem และยาอื่นๆ เช่น Digoxin และ Cordarone
การควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจประกอบด้วยการใช้ยากลุ่มAntiarrhythmics เช่น Cordarone การช็อคไฟฟ้า(synchronized cardioversion) การใส่เครื่อง
กระตุ้นหัวใจ (pacemaker)การจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้า
ความถี่สูง (radiofrequency Ablation)
กรณีศึกษา :
ได้รับยา Carvedilol 1/2 tab bid pc. warfarin 1 tab
ภาวะแทรกซ้อน
โรคหลอดเลือดสมอง
หัวใจวาย
Hypertension
มี 2 ชนิด
โรคความดันโลหิตสูงชนิดทราบสาเหตุ (Secondary
Hypertension) ความดันโลหิตสูงชนิดนี้ พบจำนวนน้อยและสามารถรักษาให้หายขาดได้ มักเกิดจากสาเหตุการได้รับยา หรือฮอร์โมนบางชนิด และโรคต่างๆ ที่พบได้บ่อย คือ โรคไต โรคของต่อมไร้ท่อ และ
ความผิดปกติของหลอดเลือดแดงใหญ่
โรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ (Primary Hypertension or Essentialon ) โดยมีปัจจัยหลายอย่างที่เกี่ยวข้องเช่น กรรมพันธ์ การรับประทานเกลือมาก โรคอ้วน การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา และขาดการออกกำลังกายโรคความต้นโลหิตสูงชนิดนี้ มักถึงวัยสูงอายุ และมักมีระวัติทางครอบครัว หรือกรรมพันธุ์ เช่น มีพ่อแม่พี่น้อง หรือสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคนี้อยู่มักเป็นกับคนอ้วน
กรณีศึกษา :
ป่วยเป็นโรคความดันไม่ชนิด เมื่อก่อนผู้ป่วยชอบประทานอาหารลดเค็ม และมารดาของผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง
พยาธิสภาพ
ความดันโลหิตสูงจะทำให้เกิดหลอดเลือดแข็งและตีบ เมื่อหัวใจบีบตัวหัวใจจะบีบเลือดไปยังหลอดเลือดแดงทำให้เกิดความดันโลหิตซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจและแรงต้านทานของหลอดเลือด หัวใจคนเราเต้น 60-80 ครั้ง ความดันก็จะเพิ่มขณะที่หัวใจบีบตัวและลดลงขณะที่หัวใจคลายตัว ความดันโลหิตของคนเราไม่เท่ากัน ตลอดเวลาขึ้นกับ ความเครียด การออกกำลังกาย การนอนหลับ ปกติของค่าความดันคือ 120/80 มิลิเมตรปรอท แต่ไม่ควรเกิน 140/90 หากสูงกว่านี้แสดงว่าเป็นโรค ความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสียงทำให้เกิดโรคหัวใจ โรคไต โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคอัมพาต โรคหัวใจเป็นโรคที่มีอัตราตายสูง
สาเหตุ
การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอลล์
การไม่ออกกำลังกาย
โรคเบาหวาน เพราะก่อให้เกิดการอักเสบตีบแคบของหลอด
เลือดต่างๆ รวมทั้งหลอดเลือดของไต
พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่เหมาะสม
ตีบต้นของหลอดเลือดต่างๆ
อายุมากขึ้น
กรณีศึกษา :
มีอายุ 79 ปี มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมเมื่อก่อนชอบรับประทานอาหารเค็ม
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ อาการปวดศีรษะจากโรคความดันโลหิตสูง
พบได้ไม่บ่อยนัก
ปวดศีรษะแบบไมเกรน (migraine)
เลือดกำเดาไหล เป็นอาการที่พบไม่บ่อย
กรณีศึกษา :
มาด้วยอาการ เหนื่อย ใจสั่น อ่อนเพลีย
อาการอื่นๆ ที่อาจพบ ได้แก่ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย นอนไม่หลับ ใจสัน อาจชัก หมดสติ เป็นอัมพาต และอาจเสียชีวิตได้
การักษา
การรักษาโดยไม่ใช้ยา คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของการใช้ชีวิต
การคุมน้ำหนัก
การออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ลดอาการเค็ม
เลิกดื่มสุรา สูบบุหรี่
การรักษาโดยใช้ยา
ยาขับปัสสาวะ (Diuretics) เป็นยาที่ส่งผลต่อการทำงานของไต โดยจะช่วยขับโซเดียมส่วนเกินและน้ำออก
ร่างกาย รวมไปถึงลดความดันโลหิตลง
ยาในกลุ่มเบต้า บล็อกเกอร์ (Beta Blockers) เป็นยาปิดกันการทำางานของเบต้า รีเช็ปเตอร์ที่ทำให้หัวใจเต้นช้าและมีแรงต้านน้อยลง ส่งผลให้หัวใจบีบตัวในการส่งเลือดน้อยลง จึงช่วยในการลดความดันโลหิตลงได้
ยาในกลุ่มเอซีอิ อินฮิบิเตอร์ (Angiotensin-ConvertingEnzyme Inhibitors. ACE Inhibitors) เป็นยาที่ช่วยยับยั้งการทำงานของแองจิโอเทนซิน 2 (Angiotensin II) ซึ่งป็นฮอร์โมนที่ทำให้หลอดเลือดเกิดการตีบตันและเพิ่มความดันโลหิตให้สูงขึ้น
ยาในกลุ่มแคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ (Calcium
Channel Blockers)เป็นยาที่ช่วยหลอดเลือดคลายตัว
เช่น ยาแอมโลด์ปัน (Amlodipine) และยาดิลไทอะเซม
(Diltiazem)
ยาในกลุ่มแอลฟา-บล็อกเกอร์ (Alpha-blockers) ช่วยให้กล้ามเนื้อคลายตัวและขยายหลอดเลือดเพื่อให้เลือดเวียนได้อย่างสะดวก เช่น ต็อกซาโซซิน (Doxazosin)
และยาพราโซ่ซิน (Prazosin)
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง (Centrally
หลอดเลือดตีบต้น ซึ่งจะลดความดันโลหิตลง เช่น ยาโคล
Acting Agents)เพื่อช่วยระงับสารสื่อประสาทที่ทำให้
นิดีน (Clonidineclonidine) และเมทิลโดปา (Methyldopa)
ภาวะแทรกซ้อน
สมอง มักเกิดจากภาวะหลอดเลือดในสมองติบหรือ
แตก เนื่องจากการมีความดัน
โลหิตสูงเป็นเวลานานจะส่งผลให้ผนังหลอดเลือดในสมองหนาและแข็งตัว เกิดการตีบจนอุดต้น
ตา มักเกิดภาวะจอประสาทตาเสื่อม เนื่องจากความดัน
โลหิตที่สูงจะส่งผลให้หลอดเลือดแดงภายในลูกตาเกิดการหนาตัวโดยในระยะแรกจะตีบ
ไต เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ขับของเสียรักษาสมดุลน้ำ
และเกลือแร่ในร่างกายเมื่อความดันโลหิตสูงอยู่นาน จะส่งผลให้หลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยง
ไตมีผนังหนาเกิดการแข็งและตีบส่งผลให้เลือดไป
เลี้ยงไม่พอส่งผลให้การกรองของไตเสีย
Acute kidney injury : AKI
พยาธิสภาพ
บทบาทด้านการไหลเวียนเลือดเมื่อไตขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้อัตราการกรองของตลดลงอย่างมากทำให้ไตสร้างnitric oxide ซึ่งทำหน้าที่ขยายหลอดเลือดลดลงร่วมกับการสร้างendothelin ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้หลอดเลือดหดตัวทำให้เซลล์ทิวบูลถูกทำลายเและไตวายเพิ่มขึ้น
บทบาทของเซลล์ทิวบูลเมื่อเซลล์ทิวบูลไตถูกทำลายทำให้เซลล์หลุดออกมาทางท่อไตและทำให้สารต่างๆที่ถูกกร้องออกมาไหลย้อนผ่านเซลล์ทิวบูลเข้าไปในร่างกายผลที่ตามมาคือทำให้อัตราการกรองของไตลดลงทำให้ไตวายเพิ่มขึ้น
อาการ
ระยะที่มีปัสสาวะออกน้อย(Oligaile phase) ใช้เวลา 1 วันหรือ1-2 สัปดาห์หรือมากกว่า 4 สัปดาห์จนไม่มีปัสสาวะทำให้ไตไม่สามารถขับของเสียออกมาได้
มีการตั้งของ BUN, Cr เกลือแร่และกรดในร่างกายคั่งค้างในกระแสเลือดระยะนี้ต้องระมัดระวังในการให้สารน้ำื่องจากผู้ป่วยมีอาการบวมมีน้ำท่วมปอดและหัวใจล้มเหลว
ระยะปัสสาวะออกมาก(Gulretic phase)ไตค่อยๆฟื้นตัวมีปัสสาวะออกมาขึ่นระดับ BUN,Cr ่อยๆลดลงระยะนี้จะมีการสูญเสียน้ำโซเดียมและโปตัสเชียม เนื่องจากปัสสาวะออกมากถึง 4-5 ลิตร/วัน
ระยะฟื้นฟูสภาพ(Recovery plase) เข้าสู่ภาวะปกติของ BUN,Cr กลับสู่ภาวะปกติใน 2-3 เดือนแต่สองในสามคนจะยังมีอัตราการกรองต่ำกว่าปกติ
อาการแสดง
สับสน ซึมลง
ปัสสาวะออกลดลง
บวม เหนื่อยง่าย
หัวใจเต้นผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัดปลูกถ่ายไต (kidney transplantation)ป็นการผ่าตัดเอาไตของผู้อื่นมาใส่ไว้ในร่างูกายผู้ป่วยเพื่อทดแทนไตเดิมที่ไม่สามารถทำงานได้แล้ว โดยตใหม่นั้นอาจได้มาจากผู้บริจาคอวัยวะที่มีภาวะสมองตายหรือผู้บริจาคที่ยังมีชีวิตอยู่และมีไตเข้ากับผู้ป่วยได้วิธีนี้มีข้อจำกัดเรื่องไตที่ต้องรอรับบริจาค
ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายจำเป็นต้องเลือกวิธีใดวิธีหนึ่งเพราะหากไม่รักษาก็จะไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ( hemodialysis)
เป็นการนำของเสียและน้ำออกจากโดยเลือดจะออกจากตัวผู้ป่วยแล้วผ่านตัวกรองเพื่อกำจัดของเสียปรับสมดุลเกลือแร่และกรดด่างเพื่อให้กลายเป็นเลือดดีก่อนที่เครื่องไตเทียมจะนำเลือดนั้นกลับสู่ร่างกาย ในการฟอกเลือดแต่ละครั้งต้องใช้เวลาประมาณ 3-4 ชม. และต้องทำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2-3 ครั้งโดยผู้ป่วยต้องเข้ารับการตัดต่อเส้นเลือดเพื่อใช้ในการฟอกเลือดเสียก่อน
การล้างไตทางผนังช่องท้อง (peritoneal dialysis)เป็นการใส่น้ำยาล้างไตเข้าไปในช่องท้องผ่านทางสายยางที่ฝังไว้ในช่องท้องผู้ป่วยเพื่อกรองของเสียในร่างกายออกวิธีนี้จำเป็นต้องทำทุกวันผู้ป่วยจึงมักทำที่บ้านและเรียนรู้วิธีการทำด้วยตัวเองและมีข้อควรระวังเรื่องความสะอาดที่อาจนำไปสู่การติดเชื้อได้ึ่งอาจมีข้อจำกัดที่ผู้ป่วยหลายรายไม่สะดวก
การวินิจฉัย
ตรวจหาโปรตีนและเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะโดยปกติโปรตีนและเม็ดเลือดแดงจะไม่ผ่านการกรองออกมาในปัสสาวะ นภาวะที่ตไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
อาจพบโปรตีนและเม็ดเลือดแดงรั่วออกมากับปัสสาวะได้
ตรวจเลือดเพื่อหาค่าครีเอตินิน ( creatinine)
ซึ่งเป็นค่าของเสียในเลือดโดยผลที่ได้จะนำมาใช้ในการประเมินค่าการทำงานของไตหรือGFR (glomerular filtration rate)
การตรวจเพิ่มเติมอื่นๆ เช่นทำการตรวจอัลตราซาวนด์ไตและทางเดินปัสสาวะและในบางกรณีอาจมีการตัดขึ้นเนื้อไตส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการด้วย
สาเหตุการเกิด
ภาวะที่ทำให้เลือดไปเลี้ยงไตไม่เพียงพอ เช่น ภาวะความดันโลหิตต่ำหรือสูง, ภาวะเลือดออก, ภาวะหัวใจวาย เป็นต้น
ภาวะไตบาดเจ็บโดยตรง เช่น การได้ยาที่มีพิษต่อไต, การได้รับสารทึบรังสีทางหลอดเลือด, โรคไตอักเสบ เป็นต้น
ภาวะอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ เช่นภาวะนิ่ว, โรคต่อมลูกหมากโต เป็นต้น
ไตสูญเสียหน้าที่การทำงาน ไม่สามารถควบคุมสมดุลน้ำ
เกลือแร่ ความเป็นกรดด่างการกรองของเสียออกจากร่างกายทางปัสสาวะ เช่น urea และการทำหน้าที่สังเคราะห์ฮอร์โมนที่สำคัญๆ เช่น เรนิน ซึ่งทำหน้าที่ในการควบคุมระดับความดัน ฮอร์โมนอิริโทรโปอิตินที่ทำหน้าที่ร่วมกับไขกระดูกในการผลิตเม็ดเลือดแดง
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกช้อนไม่รุนแรง เช่น ภาวะฟอตเฟสในเลือดสูง,
ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ, าวะแมกนีเซียมในเลือดสูง
หรือภาวะซีดเนื่องจากขาดฮอร์โมนอีริโทรพอยเอทินซึ่งจะส่งผลให้ร่างกายสร้างเม็ดเลือดแดงได้ไม่ดีเท่าที่ควร
ภาวะแทรกซ้อนรุนแรง เนื่องจากไตไม่สามารถขับน้ำได้
ทำให้เกิดการคั่งของน้ำในกระแสเลือด ซึ่งส่งผลให้ความดันโลหิตสูงและอาจเกิดภาวะหัวใจวายตามมา
ได้
ภาวะเลือดเป็นกรดที่ส่งผลให้หัวใจเต้นผิดจังหวะหรือหยุดเต้นได้เช่นกัน ภาวะแทรกซ้อนทางสมอง ทำให้เกิดอาการชัก หมดสติ
ภาวะติดเชื้อง่ายและรุนแรงเนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันต่ำหรือตถูกทำลายถาวร์จากการรักษาล่าช้าและอาจกลายเป็นไตวายเรื้อรั่งในที่สุด