Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เตียง 19, นศพต.พัชรภรณ์ ฉัตรทิวาพร เลขที่ 35
นศพต.พิชามญชุ์ อินทรปัญญา…
เตียง 19
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
-
-
-
Xatral XL 10 mg.tab
-
-
ใช้รักษาอาการที่เกิดจากโรคต่อมลูกหมากโต
เช่น ปัสสาวะลำบาก ปัสสาวะไหลช้า ปัสสาวะบ่อย และปัสสาวะไม่สุด โดยตัวยาจะออกฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อหูรูดกระเพาะปัสสาวะที่ติดกับต่อมลูกหมาก
-
-
-
-
-
SPASMO-LYT 20 MG
-
-
รักษาภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวไวเกิน (overactive bladder) ซึ่งทำให้มีอาการปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัสสาวะไม่สุด
ข้อมูลทั่วไป
-
-
-
General appearance
ผู้ป่วยชายไทย ผมสีขาวปนดำศีรษะไม่มีแผลและมีความสมมาตร
ตา ข้างซ้ายเป็นต้อหิน จมูกไม่มีบวมแดงการได้กลิ่นปกติ
ลำตัวผู้ป่วยมีเครื่อง Telemetry Monitoring
หูทั้ง 2ข้างสมมาตรได้ยินปกติ ผู้ป่วยใส่ฟันปลอม ที่เข่าของผู้ป่วยมีรอยผ่าตัด เท้าทั้ง2 ข้างไม่มีแผลเดินได้ปกติ
Vital sign
อุณหภูมิ 36.0 องศาเซลเซียส
ชีพจร 70 bpm
หายใจ 18 bpm
ความดันโลหิต 147/67 mmHg
O2 sat 95%
น้ำหนัก 60 kg
ส่วยสูง 159 cm
present illness
1 ปี เคยวูบไปที่ต่างจังหวัด ไปโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา ไม่พบความผิดปกติ นัดมาติดตามอาการของหัวใจ
9 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการมึนหัว รู้สึกชาปลายมือปลายเท้า มีเจ็บอกด้านซ้ายชั่วขณะหนึ่งแล้วอาการดีขึ้นโดยไม่ได้ทำอะไร จากนั้นขับรถมาโบสถ์ รู้สึกแขนขาอ่อนแรง ไม่มีใจสั่น ไม่มีแน่นหน้าอก
7ชั่วโมงก่อนมาโรงพยทบาล นั่งอยู่บนเก้าอี้ที่โบสถ์ รู้สึกวูปหมดสติ หมดสติไปประมาณ 5 นาที ตื่นมาจำเหตุการณ์ไม่ได้ มีคนเห็นว่าหมดสติ ปลุกไม่ตื่น ตัวซีด คลำชีพจรไม่ได้ พยาบาลที่โบสถ์ทำ CPR 4-5 นาที และปฐมพยาบาลเบื้องต้น คนไข้ตื่นมาจำอะไรไม่ได้ จึงนำมาส่งโรงพยาบาล
วูบ 1ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
-
part history
-
OA knee s/p bilateral TKA ข้อเข่าเสื่อมทั้ง 2ข้าง ได้รับการผ่าตัดแบบ Total Knee Arthroplasty เมื่อวันที่ 19/11/2565
-
ข้อวินิจฉัยที่ 2
เสี่ยงเนื่อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจต่อ1นาทีลดลง จากภาวะลิ้นหัวใจรั่ว
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
ประเมินภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน (Hypoxia) ได้แก่ เล็บมือ เล็บเท้า ริมฝีปาก มีลักษณะการซีด เขียวคล้ำ เพื่อประเมินความรุนแรงของเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน
-
-
-
พยาธิสภาพ
cardiac syncope
เกิดจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงชั่วคราว ถ้าเป็นนานอาจหมดสติและชัก เพราะจังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติมากจนจำนวนเลือดออกจากหัวใจลดลง จึงทำให้เกิดอาการวูบ
เกิดจากผู้ป่วยมีภาวะโครงสร้างของหัวใจผิดปกติ ได้แก่ เยื่อบุหัวใจอักเสบ หลอดเลือดAortaฉีกขาด
การเสื่อมของลิ้นหัวใจตามวัย เมื่อมีภาวะลิ้นหัวใจเอออร์ติครั่ว เลือดจากหลอดเลือดAorta จะไหลย้อนกลับมาที่ Left ventricle ส่งผลให้ความดันใน Left ventricle ในขณะหัวใจมีการคลายตัวสูงขึ้น ขณะเดียวกันก็ต้องทำงานเพื่อเพิ่มปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจในหนึ่งนาที เพื่อส่งเลือดไปไหลเวียนให้เพียงพอ เมื่อหัวใจสูบฉีดเลือดได้ไม่ดี ส่งผลให้เกิด cardiac output ลดลง ทำให้ O2 ไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
-