Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Closed fracture Lt. intertrochanteric of femur, นศพต.ภูริชญา พงษ์สนั่น…
Closed fracture Lt. intertrochanteric of femur
พยาธิสภาพ
Intertrochanter มีกล้ามเนื้อ Gluteus medius และ Minimus มาเกาะบริเวณ Geater trochanter ส่วน Lesser trochanter จะเป็นที่เกาะของกล้ามเนื้อ lllio-psoas muscle การเคลื่อนไหวของข้อสะโพกถูกควบคุมโดยกลุ่มของกล้ามเนื้อ ในผู้ป่วยสูงอายุหากเกิดการหักขึ้นแล้วจะไม่สามารถยืนขึ้นได้หรือไม่สามารถยืนด้วยขาข้างเดียวกับที่เจ็บได้
แบ่งตามกระดูกหักแบบเปิดและแบบปิด
complete fracture
คือ กระดูกหักและมีการเคลื่อนไหวที่กระดูกที่หักแยกกัน
incomplete fracture
คือ กระดูกที่มีรอยแตกร้าวหรือหักแต่ไม่มีการเคลื่อนที่ชิ้นกระดูกที่ร้าวหรือหักแยะออกจากกัน
open fracture
คือ กระดูกหักที่ผิวหนังมีแผลเปิดออกเพราะกระดูกที่หักแทงทะลุผิวหนังออกมา
closed fracture
คือ กระดูกที่หักที่ผิวหนังไม่มีแผลเปิดออกเพราะไม่มีกระดูกที่หักแทงทะลุผิวออกมา
Intertrochanteric fracture
เป็นการหักระหว่าง greater and lesser trochanters พบได้บ่อยถึงร้อยละ 50 ของกระดูกหักบริเวณต้นขาส่วนบน (proximal femoral fracture) มีความสัมพันธ์โดยตรงกับภาวะกระดูกพรุน
กลไกการบาดเจ็บ
ร้อยละ90 ของผู้ป่วยเป็นผู้สูงอายุและมีภาวะกระดูกพรุน ประสบอุบัติเหตุล้มและกระแทก greater trochanter
อาการแสดง
ในผู้ป่วยที่กระดูกหักชนิดไม่เคลื่อนอาจจะนั่งและยืนได้ในระยะใกล้แต่ในผู้ป่วยกระดูกหักจะไม่สามารถขยับสะโพกได้เพราะปวด ขาจะหดสั้นและบิดหมุนออก เนื่องจากการหักเกิดขึ้นภายนอกข้อสะโพก จึงตรวจพบการบวมและรอยจ้ำเลือด (ecchymosis) บริเวณต้นขามาก
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 1
ผู้ป่วยมีอาการปวดต้นขาซ้าย เนื่องจากผู้ป่วยเกิดอุบัติเหตุทำให้กระดูกบริเวณ Intertrochanteric of left femur หักและเกิดการบาดเจ็บเนื้อเยื่อรอบๆส่งหลให้เกิดความเจ็บปวดบริเวณที่หัก
ข้อมูลสนับสนุน
Subjective data (SD) : ผู้ป่วยบอกว่าปวด ไม่วามารถลุกเดินได้
Objective data (OD) : ผู้ป่วยวูบ หมดสติ กระดูกหักบริเวณ Intertrochanteric of left femur
วัตถุประสงค์การพยาบาล
ผู้ป่วยไม่เจ็บต้นขาหรือเจ็บปวดน้อยลง
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการโดยใช้ Pain score เพื่อให้ทราบถึงระดับความเจ็บปวดและให้การรักษา
2.ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา เช่น ultracet (tramadol 37.5 +paracetamol 325 mg) tab
3.ประเมินตามหลักการของ traction เพื่อให้ skin traction มีการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการ on skin traction เช่น แพ้ แถบกาว ผิวหนังหลุดลอก แผลกดทับ บริเวณตาตุ่มและส้นเท้า และ common peroneal nerve palsy จากแถบกาวมากดทับ หัวกระดูกfibular
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยมีอาการปวดลดลง pain score ไม่เกิน3คะแนน
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนของ skin traction
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 2
เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเนื่องจากต้องrest bed เป็นเวลานาน
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีการทรงตัวไม่ดี
ถูกจำกัดการเคลื่อนไหว เนื่องจากมีแผลที่สะโพกข้างซ้าย
Braden score = 16
วัตถุประสงค์การพยาบาล
ไม่เกิดแผลกดทับ ไม่เกิดข้อติดแข็ง
กิจกรรมการพยาบาล
พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง
ประเมินสภาพผิวหนัง เพื่อดูรอยแดง แผลกดทับ
ปูเตียงให้สะอาย เรียบตึง เพื่อลดการเกิดแผลกดทับ
ใช้ผ้ารองที่ข้อพับ ข้อต่อ
เกณฑ์การประเมินผล
ผิวหนังไม่มีรอยแดง ไม่มีแผลถลอก
ข้อต่อไม่ยึดติด สามารถเคลื่อนไหวได้
ผิวหนังชุ่มชื่น มีความยืดหยุ่น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3
มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (UTI)
วัตถุประสงค์การพยาบาล
ไม่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ข้อมูลสนับสนุน
Objective data (OD) พบ WBC(UA) 10-20/HPF ,อุณหภูมิ 37.8 องศาเซลเซียส
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมิน Vital sign ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อติดตามสัญญาณชีพ
I/O เพื่อประเมินสี ลักษณะ ปริมาณของปัสสาวะ และสังเกตสิ่งผิดปกติด เช่น มูกเลือด ตะกอน
ดูแลความสะอาด Perineam care เช็ดจากหน้าไปหลัง
ติดตามผลตรวจทางให้ปฏิบัติการ เช่น CBC WBC UA
ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล
เกณฑ์การประเมินผล
อุณหภูมิร่างกายปกติ BT=36.5-37.4 C
ผลตรวจ Urine culture ไม่พบเชื้อ
ผล CBC WBC =5000-10000 cell/uL
ผล UA WBC = 0-5/HPF
ผล UA ไม่พบเชื้อ Bacteria
ปัสสาวะเป็นสีเหลืองใส
ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่น ไม่มีปัสสาวะแสบขัด
Case study
dx.
CFX.Lt intertrochanferic of femur
chief complaint
ปวดสะโพกซ้าย 10 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
present illness
10 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการวูบ หมดสติ ล้มสะโพกซ้ายกระแทกพื้น มีอาการปวดสะโพกซ้าย เดินลงน้ำหนักไม่ได้ มีอาการปวดมากพักแล้วไม่ดีขึ้น ญาติจึงนำส่งโรงพยาบาล แพทย์ตรวจร่างกาย X-Ray พบว่ามีกระดูกสะโพกซ้ายหัก จึงให้ admit
past history
HT,BPH,DLP >10 PTA, CKD Stage3 ~ 10ปี , Anemia ~ 5 ปี
General appearance
สัญญาณชีพ : อุณหภูมิ 37.5 องศาเซลเซียส, ชีพจร 94 ครั้ง/นาที, หายใจ 22 ครั้ง/นาที, BP 116/82mmHg,น้ำหนัก 60 กิโลกรัม,ส่วนสูง 170 เซนติเมตร, O2 100%
ประวัตการผ่าตัด
เคยผ่าตัดไส้เลื่อน
ปัญหา
วันที่ 27/01/2566
เป็น CKD Stage 3
ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
เนื่องจากผู้ป่วยอายุ 90 ปี และมีแผลผ่าตัด จึงไม่สามรถลุกเดินเองได้จึงช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
มีแผลที่สะโพกข้างซ้าย
เสี่ยงพลัดตกหกล้ม
Fall risk = 5 ( มากกว่าหรือเท่ากับ 5 มีความเสี่ยงสูงต่อการพลัดตกหกล้ม )
ไอมีเสมหะในคอ
วันที่ 28/01/2566
Braden = 16
Braden score 15-18 คือ มีความเสี่ยงน้อยต่อการเกิดแผลกดทับ
Risk fall = 5
คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ 5 มีความเสี่ยงสูงต่อการพลัดตกหกล้ม
CKD Stage 3
มีแผลผ่าตัดที่สะโพกซ้าย
R/F
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เคมีคลินิก
29/01/2566
Bun 29.1 สูงกว่าปกติ ปกติ 8.9-20.6 mg/dL
ไตมีปัญหาอาจนำไปสู้ภาวะไตวายเฉียบพลัน
Liver Function test
Total Protein 5.89 ต่ำกว่าปกติ ปกติ 6.4-8.3 g/dL
ตับอาจเกิดอักเสบหรือมีการติดเชื้อเรื้อรัง
อาจเกิดภาวะขาดน้ำ (dehydration)
อาจเกิดจากการกลไกการดูดซึมของลำไส้ทำงานผิดปกติ (Melabsorbtion)
อาจเกิดโรคไตเสื่อม (nephrosis) ทำให้กรวยไตไม่กรองโปรตีนกลับคืนอย่างรวดเร็วอย่างที่ควรจะทำ แต่กลับปล่อยทิ้งไปกับน้ำปัสสาวะ
Direct Bilirubin 1.41 สูงกว่าปกติ ปกติ 0.00-0.50 mg/dL
การทํางานของตับผิดปกติ เช่น ตับอักเสบ ภาวะตับล้มเหลว และท่อน้ําดีอุดตันทําให้ ตับไม่สามารถกําจัด bilirubin ออกจาก ร่างกายได้ หรือภาวะเลือดถูกทําลายมาก เกินไปตับไม่สามารถกําจัดออกได้ทันที
Albumin 2.54 ต่ำกว่าปกติ ปกติ 3.5-5.2 g/dL
อาจเกิดโรคไต ทำให้ปล่อยทิ้งโปรตีนไปกับปัสสาวะ ไม่สามารถกรองโปรตีนกลับคืนสู่ระบบของร่างกาย
อาจขาดสารอาหาร โดยเฉพาะโปรตีน
Total Bilirubin 1.41 สูงกว่าปกติ ปกติ 0.2-1.2 mg/dL
การทํางานของตับผิดปกติ เช่น ตับอักเสบ ภาวะตับล้มเหลว และท่อน้ําดีอุดตันทําให้ ตับไม่สามารถกําจัด bilirubin ออกจาก ร่างกายได้ หรือภาวะเลือดถูกทําลายมาก เกินไปตับไม่สามารถกําจัดออกได้ทันที
Alk.phosphatase 678 สูงกว่าปกติ ปกติ 40.0-150.0 U/L
แสดงถึงความผิดปกติจากตับถูกทําลาย
AST (SGOT) 106 สูงกว่าปกติ ปกติ 5.0-34.0 U/L
ALT (SGPT) 219 สูงกว่าปกติ ปกติ 0.0-55.0 U/L
Electrolyte
Sodium(Na) 134 ต่ำกว่าปกติ ปกติ 136-145 mmol/L
ท้องร่วง โรคไต
CO2 20.2 ต่ำกว่าปกติ ปกติ 22-29 mmol/L
โลหิตวิทยา
29/01/2566
Complete Blood Count
Red Blood Cell Count (RBC) 3.27 ต่ำกว่าปกติ ปกติ 4.03-5.55 10^6/uL
หมายถึง Anemia ดังนั้นควรประเมินอาการโลหิตจางอื่นๆ เช่น ประวัติการบริโภค การตรวจร่างกาย อาการทางคลินิกของโรคโลหิตจาง
RDW 16.0 สูงกว่าปกติ ปกติ 11.8-15.2 %
พบได้ในภาวะโลหิตจางบางอย่าง เช่น ขาดวิตามินบี12 หรือโฟเลต ซึ่งเป็นภาวะโลหิตจางที่จะพบเซลล์เม็ดเลือดแดงบางส่วนมีขนาดใหญ่กว่าปกติหรือพบในภาวะโลหิตจางการขาดธาตุเหล็ก ซึ่งมักจะพบเซลล์เม็ดเลือดแดงมีขนาดแตกต่างกัน
Hematocrit (Hct) 27.9 ต่ำกว่าปกติ ปกติ 38.2-48.3 %
ประเมินได้ว่าผู้ป่วยเป็นโลหิตจาง
Neutrophil 75.9 สูงกว่าปกติ ปกติ 48.2-71.2 %
ทำหน้าที่ในการกำจัดเชื้อแบคทีเรีย จะพบสูงเมื่อร่างกายมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
Hemoglobin (Hb) 9.3 ต่ำกว่าปกติ ปกติ 12.8-16.1g/dL
1.ภาวะขาดสารอาหาร เช่น ธาตูเหล็ก โฟเลต
2.ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงไม่ได้
3.อาการเจ็บป่วยเรื้อรัง เช่น โรคไตวายเรื้อรัง
Lymphocyte 10.2 ต่ำกว่าปกติ ปกติ 21.1-42.7 %
1.อาจเกิดจากการได้รับยาบางชนิดที่มีฤทธิ์กดไขกระดูก เช่น ยาเคมีบำบัด
2.ร่างกาายอาจตกอยู่ในความเครียดอย่างหนัก
Coagulation test
PT 13.6 สูงกว่าปกติ ปกติ 10.4-13.2
1.ขาดวิตามินเคจากการขาดอาหารโรคท่อน้ำดีอุดตัน
2.มีการใช้ยา warfarin
APTT 24.2 ต่ำกว่าปกติ ปกติ 24.6-31.8
ขาดวิตามินเคหรืออาจมีสารต้านวิตามินเค
ยาที่ได้รับ
Folic Acid 5 mg TAB (CON) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
กรดโฟลิคช่วยร่างกายในการสร้างเม็ดเลือดแดง โดยที่จะไปช่วยไขกระดูก ( BONE MARROW ) ให้ผลิตเม็ดเลือดแดง และควบคุมการทำงานของสมอง และอารมณ์ให้อยู่ในสภาพที่ปกติสมบูรณ์ ทำให้รู้สึกอยากรับประทานอาหารมากขึ้นและยังช่วยในการเผาผลาญ RNA ( RIBONUCLEIC ACID ) และ DNA ( DEOXYRIBONUCLEIC ACID )
ซึ่งเป็นตัวสำคัญในการสังเคราะห์โปรตีนของการสร้างโลหิต สร้างเซลล์ และการถ่ายทอดปัจจัยทางพันธุกรรม และทำหน้าที่ร่วมกับวิตามิน บี12 รวมทั้งการสร้างภูมิต้านทานโรคในต่อมไธมาส ( THIMAS ) ให้แก่เด็กเล็ก และเด็กเกิดใหม่ความต้องการของร่างกายจะต้องการเพิ่มมากขึ้นในช่วงตั้งครรภ์ดังนั้นสตรีมีครรภ์ ควรรับประทานอาหารที่อุดมไปด้วยกรดโฟลิค จะช่วยทั้งแม่และเด็กในครรภ์ให้มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ กับทั้งยังเป็นหลักประกันได้ว่าไม่เกิดโรคโลหิตจางที่เรียกว่า “ เมกกาโลบลาสติค ( MEGALOBLASTIC ANAEMIA ) ” เม็ดเลือดแดงมีขนาดใหญ่ผิดปกติและรูปร่างไม่เท่ากัน และเม็ดเลือดแดงนั้นๆ อายุสั้นตายก่อนกำหนดพบบ่อยในผู้หญิงตั้งครรภ์ อีกด้วยองค์การอนามัยโลก มีบันทึกเป็นหลักฐานว่าประมาณหนึ่งในสาม ถึงครึ่งหนึ่งของสตรีมีครรภ์ก่อนคลอด 3 เดือน จะเป็นโรคขาดกรดโฟลิค ถึงนอกจากจะทำให้แม่และเด็กไม่สมบูรณ์แล้วยังอาจทำให้เด็กในครรภ์พิการ เพดานในปากโหว่ สมองเสื่อมได้อีกด้วยขาดเกิดภาวะโลหิตจาง
Fermasian 200mg TAB (Ferrous fumarate) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารเช้า เย็น *ทานยาห่างจากแคลเซียม นม ยาลดกรดอย่างน้อย 2ชั่วโมง
เป็นยาเสริมธาตุเหล็ก ใช้รักษาหรือป้องกันภาวะโลหิตจาง (Anemia) จากการขาดธาตุเหล็ก (Iron) ซึ่งเป็นแร่ธาตุสำคัญในการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ช่วยลำเลียงออกซิเจนไปเลี้ยงเซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย นอกจากนี้ อาจนำมาใช้รักษาอาการอื่น ๆ ตามดุลยพินิจของแพทย์
Simvastatin 20 mg TAB(Zimva-GPO) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด
วันละ 1ครั้ง ก่อนนอน *หลีกเลี่ยงการทาน grapefruit juice
ใช้รักษาภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากไขมันในเลือดสูง และลดความเสี่ยงการเกิดภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ หลอดเลือดสมองอุดตัน
Senolax TAB (Sennosides) รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ใช้เป็นยาระบาย (ยาแก้ท้องผูก) บำบัดรักษาอาการท้องผูกในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ อาจใช้ยานี้สำหรับเตรียมลำไส้หรือขับถ่ายของเสียจากลำไส้ก่อนการผ่าตัดหรือส่องกล้อง
Bisloc 2.5mg TAB (Bisoprolol fumarate) รับประทานครั้งละ ครึ่งเม็ด วันละ1ครั้ง หลังอาหารเช้า
เป็นยากลุ่มbeta blockerที่ใช้รักษาโรคหัวใจ ซึ่งรวมถึงภาวะหัวใจเต้นเร็วความดันโลหิตสูงเจ็บหน้าอกจากการไหลเวียนของเลือดไปยังหัวใจไม่เพียงพอและภาวะหัวใจล้มเหลว รับประทานทางปาก
Xatral XL 10mg TAB (Alfuzosin) รับประทานครั้งละ 1เม็ด วันละ 1ครั้ง ก่อนนอน
เพื่อรักษาอาการปัสสาวะลำบาก หรือปัสสาวะไม่ออกจากคอกระเพาะ ปัสสาวะไม่คลายตัว เพื่อรักษาอาการของโรคต่อมลูกหมากโต แพทย์อาจใช้ยาตัวนี้ด้วยเหตุผลอื่นนอกเหนือจากที่ระบุไว้ หากสงสัยให้ ปรึกษาแพทย์ หรือเภสัชกร
Ultracet TAB (Tramadol+Paracetamol) 37.5+325 mg รับประทานครั้ง 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น
Tramadol เป็นยากลุ่มโอปิออยด์ ใช้บรรเทาอาการปวดระดับปานกลางถึงระดับรุนแรง และมีการใช้อย่างแพร่หลายในการรักษา fibromyalgia (chronic widespread pain), บรรเทาปวดจากโรคมะเร็ง (cancer pain) และบรรเทาอาการปวดกระดูกและกล้ามเนื้อระดับปานกลางถึงระดับรุนแรง (moderate to severe musculoskeletal pain)
Paracetamol แก้ปวด ลดไข้ ไม่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ
Cal TAB-1.25 mg (Calcium Carbonate 1250 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1ครั้ง หลังอาหารเช้า
ยากลุ่มบำรุงและเสริมสร้างกระดูก, ยาลดกรด, ยาช่วยย่อย, ยาแก้ท้องอืด, ยาแก้ท้องเสีย, แต่ที่พบมากที่สุดในตลาดยาบ้านเรา จะเป็นรูปแบบของยาบำรุงและเสริมสร้างกระดูก
Mucotic 200mg granule (Acetylcysteine )
1 ซอง ละลายน้ำ 1 แก้ว ดื่มวันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น
เป็นยาละลายเสมหะ เป็นยาช่วยละลายเมือกและเสมหะ ในโรคที่ เกี่ยวกับการหายใจทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง ได้แก่ โรคหลอดลมอักเสบทั้งเฉียบพลันและ เรื้อรัง ถุงลมโป่งพอง
สาเหตุการเกิดโรค
ผู้ป่วยมีอาการวูบ หมดสติ ล้ม สะโพกซ้ายกระแทกพื้น
มีอาการปวดมากที่สะโพกซ้าย เดินลงน้ำหนักไม่ได้
ผู้ป่วยมีอายุ 90 ปี ความแข็งแรงของกระดูกและไขข้อจึงลดลง เมื่อเกิดอุบัติเหตุลื่นล้มจึ้งทำให้มีโอกาสที่กระดูกจะแตกหักได้มากกว่าคนอายุน้อยกว่า
การรักษา
การผ่าตัดโดย CRIF c PFNA Lt. Hip
(proximal femoral nail antirotain)
เป็นการผ่าตัดใส่โลหะดามกระดูกในโพรงกระดูกเข่าชนิดมีรูล็อก ได้รับยาระงับความรู้สึกแบบ spinal block with morphine ใช้เวลาการผ่าตัดทั้งหมด 1ชั่วโมง30นาที (9.55น.-11.25น.) blood loss= 150cc urine(R/F)=350cc ลักษณะแผลเป็นแผลผ่าตัดตั้งแต่บริเวณสะโพกถึงบริเวณกลางท่อนขาส่วนบน
นศพต.ภูริชญา พงษ์สนั่น เลขที่43
นศพต.รุจิรา ดีรักษา เลขที่ 48
เตียง 17