Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model : HBM)
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
ด้านสังคจิตวิทยา ; บุคลิกภาพ ค่านิยม วัฒนธรรม
ด้านประชากร ; เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา
โครงสร้างพื้นฐาน ; ระบบบริการสุขภาพ
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ความรุนแรงของโรค ; ความยากลําบากและกาาต้องใช้ระยะเวลานานนในการรักษา การเกิดโรคแทรกซ้อน หรือมีผลกระทบต่อบทบาททางสังคมของตน
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย ; มีควํามเชื่อว่าค่าใช้จ่าย
ซึ่งเป็นข้อเสีย หรืออุปสรรคของการปฏิบัติในการป้องกัน และรักษาโรค
จะต้องมีน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับประโยชน์ที่จะได้รับ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค ; ความเชื่อต่อความถูกต้อง
ของการวินิจฉัยโรคของแพทย์
แรงจูงใจด้านสุขภาพ ; ความเชื่อต่อความรุนแรงของโรค
ความเชื่อต่อผลดีจากการปฏิบัติ รวมทั้งสิ่งเร้าภายนอก
เช่น ข่าวสาร คําแนะนําของแพทย์
ปัจจัยร่วม ; ช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อกํารที่บุคคลจะปฏิบัติ
เพื่อการป้องกันโรค หรือการปฏิบัติตามคําแนะนําในกํารรักษาโรค
เช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ ลักษณะของความยากง่ายของการปฏิบัติตาม
การประยุกต์ใช้แบบจาลองความเชื่อด้านสุขภาพ
ค้นหาบุที่มีความเสี่ยงและประเมินความเสี่ยง
วิเคราะห์ผลเสียที่จะเกิดตามมาจากความผิดปกติหรือเจ็บป่วยในทุกๆด้าน
ร่วมกันกำหนดพฤติกรรมที่ควรปฎิบัติให้ชัดเจน
จัดสิ่งแวดล้อมหรือบริการที่เอื้อต่อการปฎิบัติ)
กระตุการตระหนักรู้
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support Theory)
แหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน ; ได้รับจากบุคคลซึ่งมีประสบการณ์
ระบบสนับสนนุด้านศาสนาหรือแหล่งอุปถัมภ์ต่างๆ ; มีการแลกเปลี่ยนความเชื่อ ค่านิยม คําสอน คําแนะนําเกี่ยวกับวิถีกํารดํารงชีวิตและ ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ
ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ ; จากครอบครัว ญาติพี่น้อง
ซึ่งถือว่ามีความสําคัญมากที่สุดต่อผู้ป่วย
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ ; เป็นแหล่งการสนับสนุนเป็นแห่งแรกที่ให้การช่วยเหลือผู้ป่วย
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านการประเมิน (Appraisal support) ; กการได้รับข้อมูลย้อนกลับ กาาได้รับคํารับรองซึ่งจะทําให้ผู้รับเกิดความพอใจ นําไปประเมินตนเอง
การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร (Information support) ; เป็นการได้รับคําแนะนํา คําเตือน
การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support)
การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและส่ิงของ (Instrumental support)
ซึ่งเป็นพฤติกรรม การช่วยเหลือโดยตรงต่อความจำเป็นพื้นฐาน
แบบจาลองการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Model : HPM)
มโนทัศน์หลักของแบบจำลอง
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม (Behavior-Specific Cognition and Affect)
การรับรู้ความสามารถของตนเอง (PerceivedSelf-Ef ficacy)
ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม (Activity-Related Affect)
การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Barriers to Action)
อิทธิพลระหว่างบุคคล (Interpersonal Influences)
การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Benefits of Action)
อิทธิพลจากสถานการณ์ (Situational Influences)
พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome)
ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม (Commitment to a Plan of Actions)
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ (Health-Promoting Behavior)
ความจาเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น (Immediate Competing Demands and Preferences)
ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบคุคล(IndividualCharacteristicsandExperiences)
ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal Factors)
ด้านจิตวิทยา ; ความมีคุณค่าในตนเอง
ด้านสังคมวัฒนธรรม ; สัญชาติ วัฒนธรรม การศึกษา
ด้านชีววิทยา ; อายุ ดัชนีมวลกาย สภาวะวัยรุ่น
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง (Prior related behavior)
PRECEDE-PROCEED Model
PROCEED
นโยบาย กฎระเบียบ และโครงสร้างของในการรพัฒนาการศึกษา
และสิ่งแวดล้อม
PRECEDE
กระบวนการของกําาใช้ปัจจัยนํา ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริม ในการวินิจฉัยโครงสร้างทางการศึกษา นิเวศวิทยา และการประเมินผล “พฤติกรรมของบุคคลมีสําเหตุมาจากกสหปัจจัย (Multiple Factors)”
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment)
เป็นกราพิจารณา และวิเคราะห์ “คุณภําพชีวิต”
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา
(Phase 2 : Epidemiological Assessment)
จะช่วยให้สามารถรถจัดเรียงลําดับความสําคัญของปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
โดยแบ่งเป็นสําเหตุอันเนื่องมาจากพฤติกรรมของบุคคล
สําเหตุที่ไม่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม เช่น สาเหตุจากพันธุกรรม หรือสภาวะเศรษฐกิจ
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ขั้นตอนท่ี 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : Impact Evaluation)
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
การสร้างเสริมพลังอานาจ (Empowerment)
ช่วยให้บุคคลตระหนัก และค้นหาความสามารถ หรือความเข้มแข็งที่มีอยู่ในตนเอง
ประเภทของการสร้างเสริมพลังอานาจ
การสร้างเสริมพลังอานาจเชิงโครงสร้าง (Structural Empowerment)
การสร้างเสริมพลังอานาจเชิงจิตใจ (Psychological Empowerment)
4 คุณลักษณะ
ความหมาย (Meaning) ; มีความสอดคล้องกันระหว่างความเชื่อ ค่านิยม และการกระทํา
ผลกระทบ (Impact) ; การมีอิทธิต่อผลลัพธ์ที่คาดหวัง
สมรรถนะ (Competence) ; เป็นความมั่นใจที่จะปฏิบัติพฤติกรรมนั้นได้สําเร็จ ‘การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy)’
ตัดสินใจด้วยตัวเอง (Self-determination) ; สามารถควบคุมงานที่รับผิดชอบ หรือกิจกรรมนั้นได้
ขั้นตอนของการสร้างเสริมพลังอานาจ
critical reflection ; การรพิจารณาไตร่ตรอง สะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ
Taking charge ; ดําเนินกาาตัดสินใจเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสม เรียนรู้ เรียกร้อง จัดการต่อรอง ปกป้องสิทธิ
discovering reality ; การค้นพบความจริง
holding ; มั่นใจที่จะควบคุมสถานการณ์ได้
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination) ; จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในอีก 1 เดือนข้างหน้า
ขั้นปฏิบัติ (Action stage) ; เชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองว่าสามารถทําการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) ; ตระหนักรู้ว่ามีปัญหา แต่ยังไม่คิดที่จะทําการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance) ; สามารถคงไว้ซึ่งพฤติกรรมใหม่อย่างสม่ำเสมอได้นนามากกว่า 6 เดือน ถึงแม้ว่าจะมีสิ่งเร้ากระตุ้นให้กลับไปสู่พฤติกรรมเดิม
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) ; ยังไม่มีความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในอีก 6 เดือนข้างหน้า
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination) ; ไม่มีอะไรมาเย้ายวนให้กลับไปทําพฤติกรรมเดิมได้อีก
หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง (Process of Change)
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (self reevaluation)
อยู่ในขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นเตรียมพรอ้มที่จะปฏิบัติ(Preparationstage /Determination)
การปลดปล่อยตนเอง (self liberation) ; การพยายามให้มีทางเลือกในการปลี่ยนแปลง
อยู่ในขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นปฏิบัติ (Action)
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง (social reevaluation)
อยู่ในขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
การปลดปล่อยสังคม (social liberation) ; อาศัยความรู้สึกว่าเป็นการ ปลดปล่อยจากการถูกกดขี่เอาเปรียบทางสังคมมาเป็นตัวสร้างความมุ่งมั่นในการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนข้ึนไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
การระบายความรู้สึก (Dramatic relief) ; เพื่อกระตุ้นหรือผลักดันจิตใจ อารมณ์ให้เกิดความอยากเปลี่ยนแปลง
อยู่ในขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (counterconditioning)
อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนข้ึนไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
การปลุกจิตสานึก (consciousness raising) ; เป็นการใช้วิธีต่างๆบอกให้รู้ ผลเสียของการไม่เปลี่ยน และผลดีของการเปลี่ยนพฤติกรรม
อยู่ในขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
บังคับให้ทาสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (stimulus control)
อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนข้ึนไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
จงใจใช้แผนกระตุ้น (contingency management)
อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนข้ึนไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
กัลยาณมิตร (helping relationship)
อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนข้ึนไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)