Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบจำาลองการส่งเสริมสุขภาพ
(Health Promotion Model :
HPM)
ประโยชน์ต่อการประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพอย่างมากเนื่องจากบุคคลจะตัดสินใจกระทำการส่งเสริมสุขภาพหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับบการเห็นความสำคัญของภาวะสุขภาพและการรับรู้ถึงความสามารถของตน
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ มีพื้นฐานมาจากแนวคิดด้านการคิดRรู้ ซึ่งประกอบด้วยความคาดหวังต่อ
ผลลัพธ์ของการปฏิบัติพฤติกรรม
ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบุคคล
(Individual Characteristics and Experiences)
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม (BehaviorSpecific Cognition and Affect)
3.พฤติกรรมผลลัพธ์ (BehavioralOutcome)
การสร้างเสริมพลังอำนาจ
กระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจทำให้บุคคลเปลี่ยนแปลง
สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
เข้าถึงข้อมูลและแหละข้อมูล
มีทางเลือกอย่างกว้างขวาง
มีความสามารถในการคิดเชิงรุก
มีความคิดบวกและเปลี่ยนแปลง
มีความสามารถในทักษะการเรียนรู้
มีความสามารถที่จะเปลี่ยนการรับรู้ของผู้อื่นโดยวิธีประชาธิปไตย
เพิ่มอัตมโนทัศน์ทางบวกและสามารเอาชนะจุดด้อยของตนเอง
เพิ่มความสามารถแห่งตนในการคิดอย่างมีเหตุผลเพื่อแยกแยะความถูกผิดได้
มีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไม่เคยสิ้นสุด
กระบวนการที่จะช่วยให้บุคคลตระหนัก และค้นหาความสามารถ และหรือความเข้มแข็งที่มีอยู่ในตนเองเพื่อช่วยให้บุคคลความมั่นใจในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดี
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of
Change : TTM
ขั้นเตรียมพร้อมทีรจะปฏิบัติ (Preparation stage /Determination)
ขั้นปฏิบัติ (Action stage)
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
ขั้นคงไวซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
1.ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage)
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination)
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
(Health Belief Model : HBM)
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
เป็นจัยที่ไม่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพ แต่เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จะส่งผลไปถึงการรับรู้และการปฏิบัติได้แก่
ปัจจัยด้านประชากร : เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา : เช่น บุคลิกภาพ
กลุมเพื่อน ค่านิยม วัฒนธรรม
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน : ระบบบริการสุขภาพ
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
การรับรู้ประโยชน์จะได้รับและค่าใช้จ่าย
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ปัจจัยร่วม
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
(Social Support Theory)
บุคคลได้รับการช่วยเหลือจากการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม ทั้งด้านอารมณ์ ด้านข้อมูล ข่าวสาร ด้านการเงินแรงงานหรือวัตถุสิ่งของต่างๆ
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support) พฤติกรรมด่านแสดงออกด้วยการรับฟัง
ทฤษฎีแรงสนับสนุน
แนวคิดนี้มีประโยชน์ในการสร้างเครือข่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลรักษาโรคเรื้อรัง
สรุป
แนวคิดมีประโยชน์ในการสร้างเครือข่ายเพื่อช่วยในการส่งเสริมสุขภาพ
PRECEDE-PROCEED Model
ขั้นตอนที่1การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : SocialAssessment)
เป็นการพิจารณา และวิเคราะห์ คุณภาพชีวิต จุดประสงค์การประเมินในระยะนี้ เพื่อประเมินข้อมูลและประเมินปัญหาด้านสังคมที่ส่งผลต่อสุขภาพชีวิต
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 :
Behavioral Assessment)
เป็นสาเหตุอันเนื่องมาจากพฤติกรรมของบุคคลและสาเหตุที่ไม่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรม
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริการ (Phase 5 :
Administrative and Policy Assessment)
เป็นการประเมิความสามารถของการบริหารและนโยบายของการจัดการโครงการส่งเสริมสุขภาพ
ขั้นตอนที่ 6 การฏิบัติการ (Phase 6 :
Implementation)
ดำเนินงานตามกลวิธี วิธีการและกิจกรรม โดยผู้รับผิดชอบในแต่ละเรื่องและประเด็นกำหนดไว้ตามตารางการปฏิบัติกิจกรรม
ขั้นตอนที่ 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : ProcessEvaluation)
เพื่อประเมินถึงปัจจัยด้านการบริหารจัดการ
ขั้นตอนที่ 2 การิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยาจะช่วยให้สามารถจัด เรียงลำดับความสำคัญของปัญหา เพื่อประโยชย์ในการวางแผน
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : ImpactEvaluation)
เป็นการวัดประสิทธิผลของแผนงาน โครงการตาม
วัตถุประสงค์ระยะสั้น ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลกระทบ (Phase 9 : OutcomeEvaluation)
เป็นการประเมินรวบยอดของวัตถุประสงค์