Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของการพยาบาลยุคต่าง ๆ ทั้งต่างประเทศและในประเท…
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของการพยาบาลยุคต่าง ๆ ทั้งต่างประเทศและในประเทศ
วิวัฒนาการและพัฒนาการของวิชาชีพการพยาบาล
วิวัฒนาการและพัฒนาการของวิชาชีพการพยาบาลในประเทศไทย
การพยาบาลไทยนั้น กล่าวได้ว่าเริ่มมีมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2439
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงตระหนักถึงความทุกข์ทรมานและการเสียชีวิตในการคลอดของสตรี
ในสมัยก่อนสำหรับผู้หญิงเรียกได้ว่าการคลอดลูกเหมือนการออกศึก ในยุคนั้นใช้หมอตำแยซึ่งไม่ค่อยมีความรู้ในการทำคลอด และพระองค์ก็ได้ทรงประสบกับพระองค์เองด้วย
เมื่อประเทศเปิดรับการแพทย์แผนตะวันตกมากขึ้น
มีมิชชันนารีเข้ามามากแต่มักจะเป็นหมอสอนศาสนาที่มีแต่ผู้ชายทั้งหมด ซึ่งในสมัยก่อนสตรีรักนวลสงวนตัวมากโดยเฉพาะหญิงชาววัง ทำให้ไม่สามารถรักษากับหมอผู้ชายได้
พระองค์ท่านเล็งเห็นถึงความยากลำบากนี้จึงได้ก่อตั้ง “โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาล” ขึ้นมา เพื่อให้สตรีเป็นแพทย์และพยาบาลผดุงครรภ์ที่มีความรู้ในการทำคลอดสตรีเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก
ยุคของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
พระองค์ท่านไปศึกษาต่างประเทศ และกลับมาพัฒนาการแพทย์ให้เจริญรุ่งเรือง อีกทั้งพระองค์ยังมีสายพระเนตรยาวไกล หากการแพทย์เจริญเพียงอย่างเดียวการพยาบาลไม่เจริญก็ไม่ได้เพราะต้องทำงานควบคู่กันจึงได้พัฒนาการพยาบาลด้วย
พระองค์ทรงพัฒนาทั้งหลักสูตรทั้งสถานที่ โดยเฉพาะทุนร็อกกี้ เฟลเลอร์ พระองค์ท่านให้พยาบาลชาวอเมริกันมาปรับปรุงหลักสูตรการพยาบาลของไทยให้เป็นมาตรฐานเทียบเท่าสากล มีห้องแล็ปในการเรียนซึ่งถือเป็นการพัฒนาทั้งการพยาบาลและการผดุงครรภ์ควบคู่กันไป
การแต่งกายของนักเรียนพยาบาลในอดีต
ในยุคแรกนั้นการแต่งกายของนักเรียนพยาบาลศิริราชจะนุ่งโจงกระเบน และเสื้อแขนยาวประมาณศอก สีขาว รองเท้าแตะ นักเรียนปี 2 จะมีเอี๊ยมสี
ต่อมาในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โรงเรียนพยาบาลจำเป็นต้องส่งพยาบาลออกไปช่วยตามพื้นที่ต่างๆ แต่ชุดพยาบาลในสมัยนั้นไม่มีสัญลักษณ์บ่งบอกว่าเป็นพยาบาล สมเด็จกรมพระยาชัยนาทนเรนทร ซึ่งดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการราชแพทยาลัย จึงได้ออกแบบเครื่องแบบพยาบาลชุดแรกเป็นชุดกระโปรงยาวประมาณคลุมเข่า สีขาวทั้งตัว มีหมวก เริ่มใช้ในปี พ.ศ.2460
จากนั้นก็มีการพัฒนารูปแบบเครื่องแบบพยาบาลศิริราชเรื่อยมา แต่ก็ยังคงไว้ซึ่งชุดและหมวกสีขาวจนปัจจุบัน
วิวัฒนาการและพัฒนาการของวิชาชีพการพยาบาลในต่างประเทศ
อียิปต์
เริ่มมีการแพทย์และอาจมีโรงพยาบาล
มีหลักฐานการชำแหละร่างกายมนุษย์ เรียนรู้กายวิภาค
การทำมัมมี่ทำให้มีการพัฒนาการรักษา
พระ มีบทบาทในการรักษา
อินเดีย
มีโรงพยาบาลมีการผ่าตัด เอาเด็กออกทางหน้าท้อง ผู้ทำการพยาบาลจะถูกคัดเลือกจากผู้ที่มีคุณสมบัติฉลาด เอาใจใส่ จิตใจดี
มีการปลูกฝีป้องกันฝีดาษ มีการใช้ยาชา ฝิ่น กัญชา
จีน
มีการผ่าศพเพื่อดูระบบไหลเวียนเลือด
วินิจฉัยโรคจากการดู ฟัง ถาม และการสัมผัสชีพจร จำแนกชีพจรได้ถึง 200 ชนิด
ส่วนใหญ่เป็นทางการแพทย์จึงไม่พบหลักฐานเก่ียวกับการพยาบาล
ค้นคว้าพืชพันธุ์ไม้สำหรับทำยา
วิธีการรักษา : ไนจิง (Nei Ching)
การรักษาทางจิตวิญญาณ
การบำรุงร่างกาย
การให้ยา
การรักษาร่างกายแบบทั้งตัว(whole body)
การฝังเข็ม
โรม อิตาลี
การสุขาภิบาลก้าวหน้า มีระบบถ่ายเทสิ่งสกปรก มีสถานที่อาบน้ำสาธารณะ แต่การรักษาโรค ยังใช้พิธีทางไสยศาสตร์
โรงพยาบาลมีไว้สำหรับทาสและทหาร หลักฐานทางการพยาบาล ในโรงพยาบาลมีผู้หญิงและผู้ชาย สูงอายุที่จิตใจดี ใจบุญเป็นผู้ให้การดูแล
กรีซ
Hippocrates แพทย์คนแรกของโลกที่นำแนวทางวิทยาศาสตร์มาใช้ ให้เหตุผลว่าการเจ็บป่วยไม่ใช่การกระทำของภูติ ผี ปีศาจ
การรักษา : การผสมผสานทั้งพิธีกรรมทางศาสนา วิธีการธรรมชาติและสิ่งเหนือธรรมชาติ :
ชำระร่างกาย การจำกัดอาหาร การบีบนวด สวดมนต์ ภาวนา สะกดจิต
เชื่อว่าเทพเจ้าเป็นทั้งผู้ทำให้เกิดโรคและรักษาโรค
อีรัก
นำผู้ป่วยไปวางไว้ตามที่ชุมชน เช่น ตลาด เพื่อให้คนที่ผ่านไปมาแนะนำวิธีการรักษาตามประสบการณ์ที่มี
การรักษาส่วนใหญ่จึงยังคงใช้เวทมนตร์เพื่อขับไล่วิญญาณชั่วร้ายให้ออกจากร่างผู้ป่วยไปสิงที่ร่างของสัตว์แทนและฆ่าสัตว์นั้นทิ้ง เนื่องจากเชื่อว่าวิญญาณชั่วร้ายเป็นสาเหตุของโรคภัยไข้เจ็บ
ผสมผสานระหว่าง เวทมนตร์ ศาสนา และศาสตร์ความรู้
การพยาบาล -พูดถึงน้อย มีบันทึกเขียนถึง การกระทำหลาย ๆ ประการที่เป็นการปฏิบัติของพยาบาลในปัจจุบัน
ผู้ให้การพยาบาล: คนรับใช้ตามบ้าน หรือทาสทั้งหญิงและชาย และรวมถึงแม่นม หมอตำแยและคนเลี้ยงเด็ก
ประวัติการพยาบาลในต่างประเทศ
การพยาบาลสมัยดึกดำบรรพ์
มนุษย์เชื่อในอำนาจลึกลับ
ไสยศาสตร์
เวทมนตร์
พิธีกรรม
ภูตผี เทพเจ้า ดิน น้ำ ลม ไฟ
ศาสนสถานเป็นเหมือนศูนย์กลางการรักษาพยาบาล
จุดเริ่มต้นของการรักษาพยาบาล
เริ่มต้นจากการสังเกตพฤติกรรมเยียวยาตัวเองของสัตว์ เช่น การกินใบไม้หรือพืชอื่นๆ ที่ช่วยให้อาเจียน
ยังไม่มีองค์ความรู้ ถ้าเจ็บป่วยจะใช้วิธีสวดไล่ภูติผีวิญญาณร้ายออกไป
ถ่ายทอดความรู้ในครอบครัว ปฏิบัติต่อๆกันมา ใช้ความเคารพนับถือเป็นพื้นฐาน
การพยาบาลสมัยประวัติศาสตร์
ยุคต้นประวัติศาสตร์
3,000ปี ก่อนคริสตกาล
อารยธรรมเมโสโปรเตเมีย-ค.ศ.500
อียิปต์
เคารพและศรัทธาต่อเทพเจ้าสูงเชื่อว่าเทพเจ้ามีบทบาทช่วยคุ้มครองและรักษาโรค
วิธีการรักษาทั้งไสยศาตร์และพิธีกรรมทางศาสนา
มีการทำมัมมี่โดยการห่อศพด้วยวิธีพิเศษ และเชื่อว่าร่างกายไม่เน่าเปื่อยวิญญานจะกลับเข้าร่างได้
กลุ่มบาบิโลน(อิรัก)
ใช้เรื่องของโหราศาสตร์เข้ามาใช้ในการรักษา
การวินิจฉัยโรค
ลางบอกเหตุ
การดูลายนิ้วมือ
การสื่อกับวิญญาณ
อินเดีย
มีการสร้างโรงพยาบาลขึ้นเป็นครั้งแรก
มีการชำนาญเรื่องการผ่าตัดเข้ามา
ผู้ให้การพยาบาล
ฉลาด
ใจดี
มีเมตตา
จีน
ลัทธิเต๋า ขงจื้อและศาสนาพุทธมีอิทธิพล
หยินและหยาง
ความไม่สมดุลของหยินและหยางจะก่อให้เกิดความไม่สุขสบายและโรคภัยไข้เจ็บ
การวินิจฉัยโรค
ดู ฟัง ถาม
สัมผัสโดยการจับชีพจรหรือ แมะ
กรีซ
Hippocrates บิดาแห่งการแพทย์
การรักษา
ผสมผสานทั้งพิธีกรรมทางศาสนา วิธีการธรรมชาติและสิ่งเหนือธรรมชาติ
มีการหาสาเหตุการเจ็บป่วย ซักประวัติ
สังเกตอาการ บันทึก เริ่มมีแนวคิด ให้การรักษาผู้ป่วย
โรมัน
ชาวโรมันในยุคต้นเชื่อถือในเทพเจ้าแห่งสุขภาพของกรีก
ชาวโรมันมีเทพเจ้าหรือเทพธิดาประจำเกือบทุกหนาที่ในร่างกายมนุษย์
การรักษา
เดิม
ผสมผสานของชนพื้นเมือง ไสยศาสตร์และพิธีกรรมทางศาสนา
ใหม่
ยุคโรมันรุ่งเรือนำวิทการต่างๆ จากกรีกมาใช้
พัฒนาด้านสุขาภิบาล
มีการปฐมพยาบาลในสนามรบ และคิดค้นบริการพยาบาลเคลื่อนที่
มีการจัดตั้งโรงพยาบาลทหารขึ้นจำนวนหลายแห่ง
ยุคกลางประวัติศาสตร์
ตอนต้น
ยุคอาณาจักรโรมันเสื่อม มีการกดขี่ประชาชนระหว่างชนชั้นสูงกับชนชั้นต่ำ
ศาสนาคริสต์เข้ามาเผยแพร่ คนพึ่งศาสนา
พระเป็นผู้กำหนดการพยาบาล
สตรีชนชั้นสูงมาให้การพยาบาล ไม่มีการอบรม เรียนรู้จากการปฏิบัติ
ตอนปลาย
มีการปกครองแบบระบบศักดินา มีการเผยแพร่ศาสนาอิสลามเข้ามาในแหลมอารเบีย
เกิดสงครมครูเสด เพื่อแย่งเยรูซาเล็ม
สตรี(ภรรยา)และทหารที่ว่างจากสงครามเป็นผู้ให้การพยาบาล
มีโรงพยาบาล
การถ่ายทอดวัฒนธรรมบางอย่างของทหารการพยาบาล (วินัย อยู่เวร ฟอร์ม)
ยุคมืดของการพยาบาล
นับตั้งแต่ ค.ศ.1600-1820
ไม่มีประวัติการพยาบาล ไม่มีกิจกรรมอะไรที่เรียกได้ว่าเป็นการพยาบาล
สตรีที่อยู่ในราชสกุลไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วม
งานพยาบาลกลายเป็นงานของสตรีที่ไม่มีการศึกษา ไม่มีใจอยากช่ยเหลือ ทำเพื่อเงิน ละทิ้งผู้ป่วย ทะเลาะวิวาท
การพยาบาลยุคปัจจุบัน
การพยาบาลยุค มิสฟลอเรนซ์ไนติงเกล (1820)
การพยาบาลในประเทศสหรัฐอเมริกา
ยุคเริ่มต้นการพยาบาลสมัยใหม่
มิสฟลอเรนซ์ ไนติงเกล ( Florence Nughtingale )
การปรับปรุงการพยาบาล
เป็นการพยาบาลที่มีระบบมากขึ้น
สถาปนาพยาบาลโดยมีการตั้งโรงเรียนพยาบาลไนติงเกลในปี ค.ศ. 1860 ต้นเเบบในยุโรปเเละอเมริกา
เน้นการพยาบาลเเบบเหตผลเเละคุณธรรม
ปรับปรุงการพยาบาล
การพยาบาลสมัยปัจจุบัน
การพยาบาลสมัยฟืื้นฟูศิลปวิทยา
ฮาร์วี เป็นบิดกากาารเเพทย์สมัยใหม่
มีการพัฒนาความรู้
ประดิษฐ์เครื่องมือเกี่ยวกับการผ่าตัด
ด้านกายวิภาควิทยา
ค้นพบ ระบบไหลเวียนโลหิต
การห้ามเลือด
วิชาชีพพยาบาล
บทบาทหน้าที่
ด้านวิชาการ
มีส่วนร่วมในการพัฒนาวิชาการให้แก่บุคลากรทางการพยาบาล
ให้ความรู้แก่ผู้ใช้บริการ รวมทั้งมีส่วนร่วมในการวิจัย
นำผลการวิจัยมาใช้ในการปรับปรุงคุณภาพการพยาบาล
ด้านการบริหารจัดการ
มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ การดูแลภายในหอผู้ป่วยหรือ หน่วยงานเพื่อประกันคุณภาพของการให้บริการ
ด้านการปฏิบัติการพยาบาล
ใช้ความรู้และทักษะขั้นพื้นฐานในการให้การพยาบาล โดยตรงแก่ผู้ป่วยและครอบครัว โดยใช้กระบวนการพยาบาลเพื่อการวางแผนและให้การพยาบาลแบบองค์รวม
ช่วยแพทย์ในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล
ให้การรักษาพยาบาลและดูแลผู้ป่วยทั้งทางกายและจิต
การส่งเสริมสุขภาพ วางแผนและให้บริการด้านพยาบาล
ความหมาย
วิชาชีพที่ให้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมในด้านสุขภาพทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน ในภาพที่มีสุขภาพดีหรือเจ็บป่วยเพื่อให้การดูแลช่วยเหลือ ฟื้นฟูสภาพ ป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งการช่วยเหลือแพทย์ทำการรักษาโรค
คุณค่าของวิชาชีพพยาบาล
คุณค่าจากการให้ได้แก่ การให้ที่ตรงตามความต้องการของผู้รับ และการให้ด้วยความเต็มใจ ไม่หวังผลตอบแทน
คุณค่าจากการดูแล ได้แก่ ดูแลครอบคลุมแบบองค์รวม ดูแลให้พ้นทุกข์ และดูแลด้วยความเอื้ออาทร คำนึงถึงความเป็นมนุษย์
คุณค่าจากความปีติในใจ ได้แก่ รู้สึกอิ่มใจ เหมือนได้ทำบุญ และ ที่สุดของความภูมิใจ
ประเด็นและแนวโน้มของวิชาชีพการพยาบาล :
ความสำคัญ
การมีประเด็นทางวิชาชีพหลายๆประเด็นในระยะเวลาเดียวกันเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงสภาวะปัญหาที่กำลังเผชิญในวิชาชีพนั้น
การมีประเด็นแนวโน้มและการสนใจศึกษาอธิบายในประเด็นทางการพยาบาลเป็นเครื่องชี้ถึงระดับการพัฒนาความเป็นวิชาชีพเช่นความตื่นตัวและรู้จักมองและแก้ไขปัญหา
การเผยแพร่ข่าวสารหรือแนวคิดที่ได้จากการอภิปรายประเด็นทางวิชาชีพสู่สมาชิกทั่วไปจะช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการแก้ปัญหาร่วมกันอย่างเป็นเอกภาพ
การศึกษาอธิบายเพื่อทำความกระจ่างในแต่ละประเด็นเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลความคิดเห็นที่นำไปสู่ความเข้าใจความมีเหตุผลร่วมกันช่วยให้เกิดแนวคิดร่วมและลดความขัดแย้งด้วยการใช้ระบอบประชาธิปไตย
แนวโน้มทางการพยาบาล
ความหมาย
รัตนา ทองสวัสดิ์
เป็นทิศทางของความก้าวหน้าในวิชาชีพพยาบาลที่เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา เป็นผลจากภาวะเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศ ทำให้มีอิทธิพลต่อสภาพการณ์นมิติที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของวิชาชีพพยาบาล ไม่ว่าจะเป็นตัวพยาบาล การศึกษา การปฏิบัติหรือองค์กรวิชาชีพการพยาบาล
ละออ หุตางกูร
เป็นทิศทางของความก้าวหน้าเปลี่ยนแปลงของสภาวการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลโดยรวม ซึ่งควบคุมโดยธรรมชาติ ระยะเวลาและสภาพการณ์ทั่วไปของสังคม
ประเด็นทางการพยาบาล (Nursing issue)
ประเภท
ประเด็นเกี่ยวกับองค์กรวิชาชีพ
ประเด็นเกี่ยวกับตัวบุคลากรในวิชาชีพ
ประเด็นเกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
ประเด็นเกี่ยวกับการศึกษาพยาบาล
ความหมาย
รัตนา ทองสวัสดิ์
ประเด็น : เป็นเรื่องหรือปัญหาที่ยังคลุมเครือ ไม่เป็นที่เข้าใจแน่ชัด หรือมีความรู้ในสภาวการณ์ของปัญหานั้นยังไม่ละเอียดพอที่จะให้คำตอบ
ประเด็นภายในวงการวิชาชีพ(internal issue) : ประเด็นปัญหาที่ส่งผลกระทบเฉพาะกลุ่ม
ประเด็นสังคม (External issue) : ประเด็นที่ขยายขอบกว้างออกไปเป็นปัญหาของสังคม
สรุป
ข้อปัญหาหรือสภาวการณ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการพยาบาลซึ่งเป็นวิชาชีพที่เฉพาะด้านที่อาจเป็นที่สนใจและถูกหยิบยกขึ้นมาอภิปรายหรือเสนอเพื่ออภิปรายในวงการวิชาชีพนี้เท่านั้น หรืออาจขยายขอบกว้างออกไปเป็นประเด็นของสังคม
เพื่อทำความรู้จักกับสภาวะปัญหาหรือข้อมูลนั้นๆ ให้กระจ่างขึ้น
เพื่อป้องกันปัญหาหรือช่วยสร้างสรรค์ให้เป็นไปในแนวทางที่ดีขึ้น
เพื่อหาคำตอบเกี่ยวกับทางเลือก แนวทางการแก้ปัญหา การวางแผนดูแลรักษา
ละออ หุตางกูร
ข้อปัญหาหรือจุดสำคัญของสภาวการณ์ที่อาจนำไปสู่ปัญหาที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการพยาบาล ซึ่งอาจจะเป็นเพียงประเด็นภายในวงการวิชาชีพ (internal issues) หรืออาจขยายขอบเขตกว้างออกไปเป็นประเด็นทางสังคม (social issues)
ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นและแนวโน้มทางการพยาบาล
เป็นความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล
ทราบถึงแนวโน้มปัญหาต่างๆในอนาคต
สามารถนำปัญหาในปัจจุบันมาเป็นเครื่องชี้ทิศทางของสภาพปัญหาในอนาคต
ทำให้ทราบถึงแนวโน้มในอดีตที่อาจก่อให้เกิดปัญหาซึ่งเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันอยู่ในปัจจุบัน
สรุป
ประเด็นและแนวโน้มทางการพยาบาลเป็นปัญหาหรือข้อสงสัยที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรการปฏิบัติการหรือวิชาชีพซึ่งเป็นที่สนใจและอาจมีผลกระทบเฉพาะกลุ่มหรือสังคมทั่วไปจึงมีความต้องการและจำเป็นที่ต้องหยิบยกมาอภิปรายทำความเข้าใจให้ชัดเจนหรือหาแนวทางแก้ไขปรับเปลี่ยนให้ทันการณ์ เพื่อช่วยให้บุคคลสามารถรับมือกับปัญหาและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
การวิเคราะห์ประเด็นและแนวโน้มทางการพยาบาล
ให้พิจารณาจากสภาพการณ์หรือปัญหาหลักของวิชาชีพ ความสำคัญของประเด็นปัญหา และการวิเคราะห์ประเด็นย่อยจากประเด็นหลัก การวิเคราะห์ประเด็นและแนวโน้มที่ถูกต้อง เหมาะสม และทันกาลจะช่วยให้พยาบาลพัฒนาตนเองและวิชาชีพต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆจากปัจจัยสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกได้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพทำให้วิชาชีพมีความมั่นคงและเจริญก้าวหน้า
ประวัติการพยาบาลในประเทศไทย
สมัยสุโขทัย
มีการให้การพยาบาลตามความเชื่อ โชคลาง
มีพิธีกรรมทางไสยศาสตร์
มีการใช้ยาสมุนไพร ยาพื้นบ้าน
สมัยกรุงศรีอยุธยา
มีการรักษาแบบจีนและอินเดียเข้ามาผสมผสาน
มีความเชื่อเดิมเรื่องสมุนไพร และความเชื่อทางไสยศาสตร์
ถ่ายทอดความรู้ด้วยการจดจำ
สมัยธนบุรี
บ้านเมืองมีแต่ศึกสงคราม
การฟื้นฟูเป็นไปได้ยากลำบาก
มีการรักษาพยาบาลต้องเป็นไปตามเดิม
สมัยรัตโกสินทร์
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เกิดอหิวาตกโรคระบาดประชาชน ล้มตายเป็นจํานวนมาก ปี พ.ศ. 2430 พระองค์โปรดเกล้าให้สร้างโรงพยาบาลชั่วคราวและสร้างโรงพยาบาล ถาวร คือ โรงพยาบาลศิริราช
ได้เล็งเห็นถึงความยากลําบากจึงได้ก่อตั้ง “โรงเรียนหญิงแพทย์ผดุงครรภ์แลการพยาบาลไข้”
ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อและวิวัฒนาการมาเป็น "คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล"
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2394-2411)
มีหลักฐานว่าพยาบาลไทยคนแรกที่เรียนจบการพยาบาลและการผดุงครรภ์แผนปัจจุบันมาจาก ประเทศสหรัฐอเมริกา คือ นางรอด ประทีปะเสน
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2367-2394)
คนไทยและคนจีนเชื่อถือโชคลางและไสยศาสตร์ มีมิชชั่นนารีเข้ามมาเผยแพร่ศาสนา เริ่มมีการรักษาและแจกยาแผนปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พ.ศ. 2352-2367)
มีอหิวาตกโรคระบาดอีกครั้ง ใช้วิธีการรักษาเช่นเดียวกับสมัยรัชกาลท่ี 1
พระบาทสมเด็จพระพุทะยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. 2325-2352)
ใช้การรักษาแบบสมัยอยุธยา
ปีพ.ศ. 2343 เกิดอหิวาตกโรค ได้ใช้พิธี “อาฎานาติยสูติ” เป็นการยิงปืนรอบพระนคร เพื่อบํารุงขวัญและให้ความเจ็บป่วยหายไป
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
สมเด็จย่าของปวงชนชาวไทย คือองค์ผู้นําพยาบาลของประเทศไทย สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เพื่อเป็นการสดุดียกย่องให้เกียรติติ่คุณงามความดีของสมเด็จพระศรีน ครินทราบรมราชชนนี จึงกําหนดให้วันที่ 21 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันพยาบาลแห่งชาติ
ประโยชน์ที่ได้จากการทัศนศึกษา
ได้เพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการพยาบาลในประเทศไทย
ทราบถึงความสำคัญของสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย
ทราบถึงบทบาทที่สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยมีต่อพยาบาลวิชาชีพ
ทราบถึงประวัติความเป็นมาของสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย
ช่วยให้เห็นถึงความสำคัญในการทำอาชีพพยาบาลอย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี ไม่ละทิ้งหน้าที่ ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม ไม่ละเมิดกฎหมาย
ได้รำลึกถึงไนติงเกล ผู้ที่เป็นต้นกำเนิดของวิชาชีพพยาบาล
ช่วยให้ทราบถึงความสำคัญของวิชาชีพพยาบาลทั้งในและต่างประเทศ
เข้าใจข้อแตกต่างของหน้าที่สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยกับสภาการพยาบาล เห็นถึงความสำคัญของสมาคมพยาบาลตั้งแต่ก่อตั้งจนถึงปัจจุบัน
ช่วยให้สามารถเชื่อมโยงความรู้ในห้องเรียนกับความรู้ที่ได้จากการไปดูงานได้อย่างสัมพันธ์กันและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์และพัฒนาตนได้
ได้เข้าไปชมห้องแห่งประวัติศาสตร์ของสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย ได้เห็นรายชื่อผู้ก่อตั้งและวาระการประชุมต่างๆที่มีผลกับการก่อตั้งสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยจนถึงทุกวันนี้
สมาชิก
นศพต.กัลยา ศรีนวล เลขที่ 7
นศพต.เกศินี มังคลาด เลขที่ 12
นศพต.ธนัชพร อินทนนท์ เลขที่ 32
นศพต.ปุณรวีณ์ คำแปง เลขที่ 42
นศพต.พัชรพร จันต๊ะกูล เลขที่ 44
นศพต.พัชรี ตั้นหุ้ย เลขที่ 45
นศพต.วรรณษา หนูแสง เลขที่ 53
นศพต.สุชัญญา ดอนแก้ว เลขที่ 62
นศพต.สุธาสินี ศรีแสง เลขที่ 63
นศพต.อารียา ฤทธิ์หมุน เลขที่ 68