Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ :<3: - Coggle Diagram
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
:<3:
หมวด 1 บททั่วไปความมุ่งหมายและหลักการ
มาตรา 6 การจัดการศึกาาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนา
คนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
มาตรา 7 กระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้อง
เกี่ยวกับการเมือง การปกครองในระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรย์ทรงเป็นประมุข
มาตรา 8 การจัดการศึกษาให้ยึดหลัก
การศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
มาตรา 9 การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลัก
มีเอกภพด้านนโยบายและมีความหลากหลายในการปฏิบัติ
มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองคืกรปกครองส่วนท้องถิ่น
มีกำหนดการมาตรฐานการศึกษา แะจัดระบบประกันสุขภาพ
มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
และการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา
การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
มาตรา32/2 การจัดระเบียบราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัดกรรมให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
มาตราที่ 35 องค์ประกอบตามมาตรา 34 นตำแหน่งต่างๆให้สำนักงานคณะกรรมการเป็นนิติบุคคลและให้เลขาธิการของแต่ละสำนักงานเป็นกรรมการและเลขานุกานการของคณะกรรมการ
มาตราที่ 32 การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงให้มีองค์กรหลักจำนวนสามองค์กรได้แก่สภาการศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
มาตราที่ 33 สภาการศึกษามีหน้าที่
พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแแห่งชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะวัฒนธรรมและก็ฬกับการศึกษาทุกระดับ
พิจารณาเสนอนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษาเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามแผน
พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ดำเนินการประเมินผลการจัดการศึกษาตาม
ให้ความเห็นหรือคำแะนำเกี่ยวกับกฎหมายและกฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้
มาตราที่ 34 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรเกณฑ์กลางการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติ คณะกรรมการอาชีวศึกษามีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบ๊ายแผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับ
มาตรา 32/ 1กระทรวง วงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัดกรรมมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสนับสนุนและกำกับกระทรวงดังกล่าวเพื่อให้การพัฒนาประเทศเท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตราที่ 31 กระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับทุกประเภทและการอาชีวศึกษาแต่ไม่รวมระดับอุดมศึกษาที่อยู่ในอำนาจ ของกระทรวงอื่นที่กฎหมายกำหนดไว้เฉพาะ
มาตรา 35/1ให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนาและมาตรฐานการอุดมศึกษาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมและแผนการศึกษา
มาตราที่ 36 ให้สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเป็นนิติบุคคล ยกเว้นสถานศึกษาเฉพาะทางให้ดำเนินการได้โดยอิสระ
มาตราที่ 37 การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดยคำนึงถึงระดับการศึกษาชั้นพื้นฐาน จำนวนสถานที่จำนวนประชากร วัฒนธรรมและความเหมาะสม
การจัดการศึกษาทางไกลและการจัดการศึกษาที่ให้บริการในหลายเขตพื้นที่การศึกษา
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัย
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับบุคคลที่มีความสามารถพิเศษ
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสาร และการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการหรือทุพพลภาพ
มาตราที่ 38 ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษาให้มีคณะกรรมการและสำนักงานเขตกำกับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวมหรือยกเลิกสถานศึกษา
มาตราที่ 39 ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาในทุกด้าน ไปยังคณะกรรมการการและสำนักงานเขตที่พื้นที่การศึกษาโดยตรง
มาตราที่ 40 ให้คณะกรรมการการศึกษาชั้นพื้นฐาน สถานศึกษาอุดมศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาตรีและสถานศึกษาอาชีวศึกษาทำหน้าที่กำกับและส่งเสริมกิจการของสถานศึกษา
ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตราที่ 41 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิ์จัดการศึกษาในระดับใดระดับหนึ่ง หรือทุกระดับตามความพร้อมและความเหมาะสม
มาตราที่ 42 ให้กระทรวงกำหนดกฎ เภณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและมีหนัที่ประสานและส่งเสริมองค์กรสอดคล้องกับนโยบายเลยได้มาตรฐานการศึกษา
ส่วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
มาตราที่ 43 การบริหารและการจัดกจรศึกษาของเอกชนให้เป็นไปยังอิสมาตราระโดยมีการกำกับและประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ
มาตราที่ 44 ให้สถานศึกษาเอกชนตามมาตรา 18(2)เป็นนิติบุคคลและมีคณะกรรมการบริหาร
มาตราที่ 45 ให้สถานศึกษาเอกชนจากการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภท โดยรัฐต้องกำหนดนโยบายและมาตรการชัดเจน
มาตราที่ 46 รัฐต้องให้การสนับสนุนด้านเงินอุดหนุนการลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีและสิทธิ์ประโยชน์อย่างอื่น
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตราที่ 50 ให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่างๆที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกับสถานศึกษาตลอดจนบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ข้อมูลเพิ่มเติม
มาตราที่ 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของกรศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
มาตราที่ 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตราที่ 49 ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
มาตราที่ 51 กรณีผลการประเมินภายนอกสถานศึกษาไม่ได้ตามมาตรฐานให้สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาจัดทำข้อเสนอแนะปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
มาตรา 62 ให้มีระบบตรวจสอบติดตามและประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใช้จ่ายงบประมาณการศึกษา
มาตรา 61 ให้รักจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคลชุมชนและสถาบันสังคมอื่นตามความเหมาะสม
มาตรา60ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้สถานศึกษาเพื่อการศึกษา
จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนการศึกษา
ภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดโดยรัฐและเอกชนให้เท่าเทียมกัน
จัดสรรงบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
ของรัฐที่เป็นนิติบุคคล และเป็นสถานศึกษาในกำกับของรัฐหรือองค์การมหาชน
จัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายดำเนินการและงบลงทุนให้สถานศึกษาของรัฐ ตามนโยบายแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติและภารกิจของสถานศึกษา โดยให้มีอิสระในการบริหาร งบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงคุณภาพและความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา
จัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษาของรัฐและเอกชน
จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นเป็นพิเศษ ให้เหมาะสมและ
สอดคล้องกับความจำเป็นในการจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการเป็นพิเศษแต่ละกลุ่มตาม
จัดสรรกองทุนกู้ยืมดอกเบี้ยต่ำให้สถานศึกษาเอกชน เพื่อให้พึ่งตนเองได้
จัดสรรทุนการศึกษาในรูปของกองทุนกู้ยืมให้แก่ผู้เรียนที่มาจากครอบครัวที่มี
รายได้น้อยตามความเหมาะสมและความจำเป็น
มาตรา 59 ให้สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคลมีอำนาจปกครองดูแลและจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายได้จากบริการของสถานศึกษาและเก็บคำธรรมเนียมจากการศึกษา
มาตรา 58 ให้มีการระดมทรัพยากรและลงทุนด้านงบประมาณการเงินและทรัพย์สินทั้งจากรัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนมาจัดการศึกษา
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา 10 การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
มาตรา 13 บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์
การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด
การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการให้
การศึกษาแก่บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแล
เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ กฤษฎีก
ในความดูแลที่ครอบครัวจัดให้ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกำหนด
มาตรา 11 บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความ
ดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ ตามมาตรา 17 และตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องตลอดจนให้ได้รับ การศึกษานอกเหนือจากการศึกษาภาคบังคับ ตามความพร้อมของครอบครัว
มาตรา 12 นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล
ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ สถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่กำหนด
มาตรา 14 บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกช องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสิทธิ์ได้รับสิทธิประโยชน์ตามควรแก่กรณี
การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ
เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามที่กฎหมายกำหนด
การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด
หมวด 4 แนวการศึกษา
มาตรา 27 ให้คณะกรรมการกาศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตรแกนกลาง สำ การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดำรงชีวิต และการ ประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ
มาตรา 29 ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ สถาบันสังคมอื่น ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน เพื่อให้ ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และรู้จักเลือกสรรภูมิปัญญา
มาตรา 28 หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาสำหรับ บุคคลตามมาตรา 10 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ ต้องมีลักษณะหลากหลาย ความเหมาะสมของแต่ละระดับโดยมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลให้เหมาะสมแก่วัยและศักยภาพ
มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของ ผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปใน กระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา
มาตรา 30 ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา
มาตรา 25 รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมูล และแหล่งการเรียนรู้อื่น อย่างพอเพียงและมีประสิทธิภาพ
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ
จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของ ผู้เรียน โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์
ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้
คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วน
สมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา
ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน จำ และอำนวยความสะดวก เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการ สอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ
จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับ บิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
มาตรา 23 การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการ สำนัตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา
ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสังคมไทย และระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งความรู้ความเข้าใจ สำและประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน
ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการ ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง
ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สำนั สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
หมวด 3 ระบบการศึกษา
มาตรา 21 กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ อาจจัด
การศึกษาเฉพาะทางตามความต้องการและความชำนาญของหน่วยงานนั้นได้ โดยคำนึงถึงนโยบาย และมาตรฐานการศึกษาของชาติ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนด
มาตรา 16 การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา
มาตรา 17 ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด
เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษา ภาคบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 15 การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอก
ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร
ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน
การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความ สนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจาก บุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม
การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญ ของการสำเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหา
และความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม
มาตรา 20 การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ
มาตรา 19 การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้จัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน กฤษฎี วิทยาลัย หรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมายเกี่ยวกับสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึกษานั้น ๆ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 18 การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานให้จัดในสถานศึกษา
โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และ โรงเรียนที่สังกัดสถาบัน พุทธศาสนาหรือศาสนาอื่น
ศูนย์การเรียน ได้แก่ สถานที่เรียนที่หน่วยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล กฤษฎีก
ครอบครัว ชุมชน องค์กร ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์ สถานสงเคราะห์ และสถาบันสังคมอื่นเป็นผู้จัด
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้แก่ ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็ก ก่อนเกณฑ์ของสถาบันศาสนา ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มของเด็กพิการและเด็กซึ่งมีความ ต้องการพิเศษ หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่เรียกชื่ออย่างอื่น
หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 53 ให้มีองค์กรวิชาชีพครูผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษามีฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพในกำกับของกระทรวงมีหน้าที่กำหนดมาตรฐานวิชาชีพออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
มาตรา 55 ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือนค่าตอบแทนสวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูลสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 52 ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบกระบวนการผลิตการพัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพขั้นสูง
มาตรา 51/1 คำว่า"คณาจารย์"หมายถึงบุคลากรทำหน้าที่หลักทางด้านการสอน
มาตรา 54 ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลข้าราชการครูโดยยึดหลักการกระจายอำนาจสู่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
มาตรา 57 ให้หน่วยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาโดยนำประสบการณ์และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้
มาตรา 56 การผลิตและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมายของการจัดตั้งสถานศึกษาแต่ละแห่งและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนแบบเรียนและเทคโนโลยีอื่นๆโดยเร่งรัฐพัฒนาชิดความสามารถ
มาตรา 63 รัฐต้องการจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐานจำเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคมและการสื่อสารอื่นๆ
มาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้มีความรู้และทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรา 65 ให้มีคารพัฒนาบุคลากรทั้งด้านการผลิดูและผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร์ที่มีคุณภาพ
มาตรา 67 รัฐต้องส่งสริมให้มีการวิจัยและการพัฒนาการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 68 ให้มีการระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีค่าสัมปทานและผลกำไรจากการดำเนินกิจการเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุนของรัฐการสื่อสาร์มวลชนและก็จการอื่นๆ
มาตรา 69 รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายแผนส่งเสริมและประสานการวิจัยการพัฒนาและการใช้เทคโนโลยี
บทเฉพาะกาล
มาตรา 72 ในวาระเริ่มแรกมิให้นำบทบัญญัติมาตรา10วรรคู1และมาตรา17มาใช้บังคับจนกว่าจะมีการดำเนินการซึ่งไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 73 ในวาระเริ่มแรกมิให้นำบทุบัญญัติในหมวด5และหมวด7มาใช้บังคับจนกว่าจะมีการดำเนินการในหมวดดังกล่าวและแก้ไขพระราชบัญญัติครูพ.ศ.2488และพระราชบัญญัติข้าราชการครูพ.ศ2523ไม่เกิน3ปีนับตั้งแต่วันกำหนด
มาตรา 71 ให้กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานการศึกษาและสถานศึกษาที่ยังอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและยังคงมีอำนาจหน้าที่เช่นเดิมจนกว่าจะมีการจัดระบบการบริหารซึ่งต้องไม่เกิน 3 ปี
มาตรา 74 ในวาระเริ่มแรกที่การจัดตั้งกระทรวงยังไม่เสร็จให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และมีอำนาจออกุกฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศเพื่อปฏิบัติตาม
มาตรา 70 บรรดาบทกฎหมายกฏ ข้อบังคับ ระเบียบประกาศและคำสั่งเกี่ยวกับการศึกษายังคงใช้ใด้ต่อไปจนกว่าจะมิการดำเนินการปรับปรุงแก้ไข
มาตรา 76 ให้มีคณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูปการศึกษาจำนวน 9 คนประกอบด้วยประธานกรรมการและกรรมการและให้มีผู้ที่ไม่ใช่ช้ำ ราชการประกอบด้วยอย่างน้อย 3 คน
มาตรา 75 ให้จัดตั้งสำนักงานปฏิรูปการศึกษาเพื่อทำหน้าที่
เสนอการจัดโครงสร้าง องค์กร การแบ่งส่วนงานตามหมวด 5
คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาดามหมวด 7
เสนอแนะเกี่ยวกับการปรับุปรุงแก้ไขกฎหมาย กฎ ข้อบังคับระเบียบและคำสั่งที่บังคับใช้อยู่ในส่วนดำเนินการ
เสนอการจัดระบบรัพยากรและการลงทุนทางการศึกษาตามหมวด 8
เสนอการจัดระบบครู
เสนอแนะเกี่ยวกับการร่างกฎหมายเพื่อรองรับการดำเนินการ
เสนอแนะเกี่ยวกับการปรับุปรุงแก้ไขกฎหมาย กฎ ข้อบังคับระเบียบและคำสั่งที่บังคับใช้อยู่ในส่วนดำเนินการ
มาตรา 77 ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะกรรมการการบริหารสำนักงานปูฏิรูปการศึกษาคณะหนึ่งจำนวน15 คนทำหน้าที่คัดเลือกบุคคลที่ควรได้รับการเสนอชื่อเป็นคณะกรรมการจำนวน 2 เท่าของจำนวนประธานและกรรมการบริหาร
อธิการบดีของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ และเอกชนที่เป็นนิติบุคคลจำนวน 2 คนและคณบดีคณะครุศาสตร์หรือศึกษาศาสตร์จำนวน3คน
ผู้แทนสมาคมวิชาการหรือวิชาชีพด้านการศึกษาที่เป็นนิติบุคคลจำนวน 5 คน
ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำนวน 5 คน
มาตรา 78 ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานปฏิรูปการศึกษาและมีอำนาจกำกับดูแลกิจการของสำนักงานตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชน
ทุน รายได้ งบประมาณ และทรัพย์สิน
การยุบเลิก
คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามรวมทั้งการพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการบริหาร เลขาธิการ และเจ้าหน้าที่
ข้อกำหนดอื่น ๆ อันจำเป็นเพื่อให้กิจการดำเนินไปได้โดยเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหา หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา
และการเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร ตามมาตรา 77
การกำกับดูแล การตรวจสอบ และการประเมินผลงาน
องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่ และวาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการบริหาร
สำนัตามมาตรา 75 และมาตรา 76
การบริหารงานบุคคล สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์อื่น
มาตรา 76 ให้มีคณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูปการศึกษาจำนวน 9 คนประกอบด้วยประธานกรรมการและกรรมการและให้มีผู้ที่ไม่ใช่ช้ำ ราชการประกอบด้วยอย่างน้อย 3 คน