Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ, นางสาวนาเซีย มะเกะ 654101007 - Coggle Diagram
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
หมวด ๑ บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ
มาตรา ๖ การจัดการศึกษา
เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ร่างกาย
จิตใจ
สติปัญญา
คุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรม
ความรู้
มาตรา ๗ กระบวนการเรียนรู้
การเมืองการปกครอง
รักษาและส่งเสริมสิทธิหน้าที่ เสรีภาพ
เคารพกฏหมาย ความเสมอภาค
ภาคภูมิใจในความเป็นไทย
มาตรา ๘ การจัดการศึกษาให้ยึดหลัก
เป็นการศีกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
การพัฒนาสาระและการบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
มาตรา ๙ การจัดการระบบ โครงสร้าง และกระบวนการ จัดการศึกษา
มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
การมีส่วนร่วม ครอบครัว ชุมชน และองค์กรอื่นๆ
มีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลายในการปฏิบ้ติ
หมวด ๒ สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา ๑๐
บุคคลที่มีความบกพร่องด้านร่างกาย จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
บุคคลที่มีความสามารถพิเศษ ต้องจัดในรูปแบบที่เหทาะสม
บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
มาตรา ๑๑ ให้บุตรหรือบุคคลที่อยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ(9ปื)
มาตรา ๑๓ บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ ดังนี้
การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีค่าใช้จ่ายการศึกษา
เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตร
การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู
มาตรา ๑๒ บุคคลหรือองค์กรซึ่งสนับสนุนการจัดการศึกษา มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ ดังนี้
การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู
เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายการศึกษา
หมวด ๓ ระบบการศิกษา
มาตรา ๑๗ ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวน 9 ปี
เด็กมีอายุย่างเข้าปีที่7 - ย่างเข้าปีที่ 16 เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่ 9 ของการศึกษาภาคบังคับ
มาตรา ๑๘ การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีการจัดการในสถานศึกษา ดังนี้
ศูนย์การเรียนรู้
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
โรงเรียน
มาตรา ๓๖ การศึกษาใรระบบมี 2 ระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษาจัดไม่น้อยกว่า 12 ปีก่อนระดับอุดมศึกษา
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระดับต่ำกว่าปริญญา
ระดับปริญญา
มาตราท ๒๐ การจัดการศึกษาอาชีวศึกษา ให้จัดการในสถานศึกษา ดังนี้
สถานประกอบการ
หรือโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาหรือสถานประกอบการ
สถานศึกษาของรัฐ เอกชน
มาตรา ๑๕ การจัดการการศึกษามี 3 รูปแบบ
การจัดการศึกษานอกระบบ
เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของการศึกษา
เนื้อหาในหลักสูตรต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม
การศึกษาตามอัธยาศรัย
การศึกษาด้วยตัวเอง
การจัดการศึกษาในระบบ
เป็นการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษาหลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จทางการศึกษาที่แน่นอน
หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา
มาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้
1)สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน
2)ฝึกทักษะ กระบวนการคิด เพื่อแก้ไขปัญหา
6)จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นจริงได้ทุกเวลาทุกสถานที่
3)ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
5)ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้
4)ผสมผสานสาระความรู้ต่างๆให้สมดุล
มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษา เน้นความสำคัญ
กระบวนการเรียนรู้
ความรู้
บูรณาการตามความเหมาะสม
3)ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย
4)ด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษา
2)ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
5)การประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
1)ตนเองและความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม
มาตรา ๒๕ รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ
พิพิธภัณฑ์
ห้องสมุดประชาชน
สวนสัตว์
หอศิลป์
สวนพฤกษศาสตร์
อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แหล่งข้อมูล แหล่งเรียนรู้
มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาต้องยึดหลัก
ผู้เรียนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุด
มาตรา ๒๗ คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตรแกนกลาง
เพื่อความเป็นไทย
ความเป็นพลเมือง
การประกอบอาชีพ
การดำรงชีวิต
การศึกษาต่อ
หมวด ๕ การบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรา ๔๐ คณะกรรมการสถานศึกษา ทำหน้าที่กำกับและส่งเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ประกอบด้วย
ผู้แทนผู้ปกครอง
ผู้แทนครู
ผู้แทนองค์กรชุมชน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนศิษย์เก่า
ผู้แทนพระภิกษุหรือผู้แทนองค์กรศาสนาอื่น
ผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้บริหารสถานศึกษา
เป็นกรรมการและเลขานุการ
มาตรา ๓๙ กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาด้านเหล่านี้ไปยังคณะกรรมการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
ด้านวิชาการ
งบประมาณ
การบริหารงานบุคคล
การบริหารทั่วไป
มาตรา ๓๕ คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย
กรรมการโดยตำแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้แทนองค์กรเอกชน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ
ผู้ทรงคุณวุฒิ
มีจำนวนไม่น้อยกรรมการอื่นรวมกัน
เลขาธิการสำนักงาน
กรรมการและเลขานุการ
มาตรา ๓๒ การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวง
ให้มีองค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในรูปสภาหรือในรูปคณะกรรมการ 3 องค์กร
สภาการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา ๓๓
สภาการศึกษามีหน้าที่
1)เสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ
เสนอต่อรัฐมนตรี
2)เสนอนโยบาย แผน และมาตราฐานการศึกษา
เสนอต่อรัฐมนตรี
3)เสนอนโยบายและแผนการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
4)ประเมินผลการจัดการศึกษา
5)ให้ความเห็นหรือค่าแนะนำเกี่ยวกับกฎหมายและกฎกระทรวง
คณะกรรมการสภาการศึกษาประกอบด้วย
รัฐมนตรีว่ากระทรวงศึกษาธิการ
ประธาน
กรรมการโดยตำแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้แทนองค์กรเอกชน
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ
พระภิกษุ
ผู้แทนกรรมการกลางอิสลาม
ผู้แทนองค์กรศาสนาอื่น
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
จำนวนไม่น้อยกว่าจำนวนกรรมการอื่นรวมกัน
เลขาธิการสภาการศึกษา
กรรมการและเลขานุการ
มาตรา ๓๔
คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่
เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลาง
คณะกรรมการอาชีวศึกษามีหน้าที่
เสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรการอาชีวศึกษา
หมวด ๖ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา ๔๙
แบบประกันคุณภาพภายนอก
ในประเมินอย่างน้อย ๅ ครั้งในทุก 5 ปี นับแต่การปีะเมินครั้งสุดท้ายและเสนอผลการประเมินต่อสาธารณชน
สำนักงานรับรองมาตราฐานและประกันคุณภาพการศึกษา ( สมศ.) เป็นองค์กรมหาชน มีหน้าที่
พัฒนาเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก
ประเมินผลการจัดการศึกษา
มาตรา ๕๑ แบบประกันคุณภาพภายนอก
ในกรณีผลการประเมินภายนอกไม่ได้มาตราฐานตามที่กำหนด ให้ สมศ จัดทำข้อเสนอแนะและข้อปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขระยะเวลาที่กำหนด
มาตรา ๔๘ ระบบประกันคุณภาพภายใน
ให้ประเมินทุกปี โดยมีการจัดทำรายงานประจำปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด
มาตรา ๔๗ ระบบประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย
ระบบประกันคุณภาพภายใน
ระบบประกันคุณภาพภายนอก
หมวด ๗ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๕๓
องค์กรวิชาชีพครู(ครุสภา)เป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพในการกำกับของกระทรวงศธ.
วิชาชีพผุ้บริหารสถานศึกษา
วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา
วิขาขีพครู
มีหน้าที่ กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพ กำกับดูแลการปฏิบัติงานพัฒนาวิชาชีพ
ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา บุคลากรทางการศึกษาอื่นทั้งรัฐและเอกชนมีใบประกอบวิชาชีพ
ยกเว้น
ผู้บริหารการศึกษาระดับเหนือเขตพื้นที่การศึกษา
บุคลากรทางการศึกษา กศน.
วิทยากรพิเศษ
คณาอาจารย์สถานศึกษาอุดมศึกษา
หมวด ๘ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๖ ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๕ พัฒนาบุคลากรทั้งด้านผูผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๔ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียน
มาตรา ๖๗ ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๓ จัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และ โครงสร้างพื้นฐาน
มาตรา ๖๘ ระดมทุนเพื่อจัดต้องกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
หมวด ๘ ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
มาตรา ๕๘ ให้มีการระดมและการลงทุน ด้วยงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สินจากรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรอื่นมาใช้ในการจัดการศึกษา
มาตรา ๖๐ ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน ดังนี้
ค่าใช้จ่ายดำเนินการ
เงินอุดหนุน
งบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่น
กองทุนเบี้ยต่ำให้สถานศึกษาเอกชน
ทุนการศึกษาในรูปแบบกองทุนกู้ยืม
กองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษา
งบประมาณทั่วไป
นางสาวนาเซีย มะเกะ
654101007