Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายการศึกษา พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ - Coggle Diagram
กฎหมายการศึกษา พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
หมวดที่ 5
การบริหารและการจัดการศึกษา
ส่วนที่ 1
การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
มาตรา 31
กระทรวงมีหน้าที่ส่งเสริมดูแลการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และการอาชีวะ ยกเว้นระดับอุดมศึกษา
มาตรา 32
องค์กรหลักในการจัดระเบียบบริหารราชการในองค์กร
สภาการศึกษา
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการอาชีวะศึกษา
มาตรา 39
ให้กระทรวงกระจายอำนาจและการจัดการศึกษา ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป ไปยังเขตคณะกรรมการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่โดยตรง
ส่วนที่ 2
การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา 41
องก์กรปกครองท้องส่วนถิ่นมีสิทธิการจัดการศึกษาตามความเหมาะสมและความต้องการภายในท้องถิ่น
ส่วนที่ 3
การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
มาตรา 43
การบริหารการจัดการศึกษาของเอกชนให้เป็นอิสระ โดยมีการกำกับติดตาม การประเมินคุณภาพและมาตรฐานจากรัฐ
มาตรา 46
รัฐต้องให้การสนับสนุนและสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ แกสถานศึกษาเอกชนตามความเหมาะสม
หมวด 6
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 47
ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระบบประกันคุณภาพภายนอก
ระบบประกันคุณภาพภายใน
หมวด 8
ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษํา
มาตรา 58
ให้มีการระดมทรัพยากรและงบประมาณจากรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถื่น บุคคล องค์กร และสถาบันมาใช้ในการจัดการศึกษา
มาตรา 61
ให้รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคล องค์กร และสถาบันตามความเหมาะสมและความจำเป็น
มาตรา 62
ให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณการจัดการศึกษา
หมวดที่ 2
สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา 10
การศึกษาสำหรับผู้พิการไม่มีค่าใช้จ่ายและมีสิ่งอำนวยความสะดวก
จัดการศึกษาให้เหมาะสมสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ
มีสิทธิในการศึกษาเสมอภาคกัน
จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษให้แก่ผู้ที่มีความบกพร่องทางด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงผู้ด้อยโอกาสและไม่มีผู้ดูแล
มาตรา 12
นอกจากรัฐ เอกชน องค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล องค์กรและสถาบัน มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเป็นไปตามที่กำหนดในกฏกระทรวง
มาตรา 13
บิดา มารดา หรือผู้มีสิทธิ์ได้รับผลประโยชน์จากรัฐ
มาตรา 14
บุคคล องค์กร หรือสถาบันซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสิทธิได้รับประโยชน์จากรัฐบาล
หมวดที่ 1 บททั่วไป
ความมุ่งหมายและหลักการ
มาาตรา 6
การศึกษาต้องพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
มาตรา 7
ต้องปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง รู้และรักษาผลประโยชน์ของตน รักความเป็นไทย ส่งเสริมศาสนาและวัฒนธรรมและทรัพยากรธรรมชาติ และพึ่งพาตนเองได้
มาตรา 8
ให้สังคมมีส่วนร่วมในการศึกษา
การศึกษาตลอดชีวิต
การพัฒนาเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
มาตรา 9
การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลัก
ส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง
ระดมทรัพยากรมาใช้ในการศึกษา
กระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มีเอกภาพในนโยบายและมีอิสระในการปฏิบัติ
การมีส่วนร่วม
กำหนดมาตรฐานและรับประกันคุณภาพการศึกษา
หมวด 7
ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 51/1
คณาจารย์ หมายถึง บุคลากรซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยในระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาตรีของรัฐและเอกชน แต่ไม่รวมถึงบุคลากรซึ่งสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
มาตรา 52
ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง
หมวดที่ 4
แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 22
ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
มาตรา 23
เน้นให้ทั้งความรู้และคุณธรรม
มาตรา 26
ให้ประเมินผู้เรียนจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปกับการเรียนการสอน
หมวด 9
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 65
ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
มาตรา 67
รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการผลิตและการพัฒนาการศึกษา
มาตรา 68
ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุนของรัฐ ค่าสัมปทาน และผลกำไรที่ได้จํากการดำเนินกิจการด้านสื่อสารมวลชนเทคโนโลยีสํารสนเทศ และโทรคมนาคมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
หมวดที่ 3
ระบบการศึกษา
มาตรา 16
ระบบการศึกษา
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา 17
การศึกษาภาคบังคับ
มาตรา 15
รูปแบบการจัดการศึกษา
การศึกษานอกระบบ
การศึกษาตามอัธยาศัย
การศึกษาในระบบ
มาตรา 18
การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรียน
ศูนย์การเรียน
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย