Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพ, ซักประวัติเกี่ยวกับยาที่ผู้ป่วยได…
-
- ซักประวัติเกี่ยวกับยาที่ผู้ป่วยได้รับ
- ตรวจทางระบบประสาท ประสาทสัมผัส
- ตรวจระบบกล้ามเนื้อและกระดูก เข่น คอ กระดูกสันหลัง
การเคลื่อนไหวและความเจ็บปวด
4.ระบบอื่นๆโดยเน้นใน ระบบหัวใจและหลอดเลือด การมองเห็นและจิตใจ
5.แบบประเมินการทรงตัวขณะยืนและเดิน
6.การตรวจสอบระบบประสาทสัมผัสที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัว
7.แบบประเมินการหกล้มในผู้สูงอายุ
-กล้ามเนื้อและกระดูกเสื่อม ส่งผลให้เกิดอาหารปวด กล้ามเนื้ออ่อนแรง เดินผิดปกติ
-อวัยวะในร่างกายสูญเสียความสามารถในการทำงาน ส่งผลให้เกิดโรคหัวใจ ปอดอุดกลั้นเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก
-ต้อกระจก,จอประสาทตาเสื่อม สายตาไม่ดี
-
1.ซักประวัติเกี่ยวกับยาที่ผู้ป่วยได้รับ
- ตรวจร่างกาย ระบบประสาทกระดูกสันหลัง กระเพาะปัสสาวะ ตรวจทวารหนัก ตรวจช่องคลอด
- ประเมินปัสสาวะตกค้าง
-เพศชาย ท่อปัสสาวะอุดตันจากต่อมลูกหมาก
-เพศหญิง ท่อปัสสาวะสั้น ตรง มีประสิทธิภาพการหดรัดตัวน้อยลงหรือมีการตั้งครรภ์
-ไตตอบสนองต่อการสูญเสียโซเดียม ส่งผลให้ไตทำงานได้น้อยลง
-การทำงานของระบบปัสสาวะผิดปกติ
-การเคลื่อนไหวช้าลง ระหว่างเข้าห้องน้ำ หรือจำกัดการเคลื่อนไหว
-มีภาวะเพ้อข้างสับสน ผลข้างเคียงจากการได้รับประทานยารักษาโรคซึมเศร้า
ยากล่อมประสาทยาโรคจิต
-ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
-ช่องคลอดอักเสบ มีการระคายเคืองในทางเดินปัสสาวะ
-ปัสสาวะออกมาก มีความผิดปกติของการหดรัดตัวของกระเพาะปัสสาวะ
-มีภาวะอุจจาระอัดแน่น
-
1.รับประทานยา กลุ่มAlpha-adrenergic รักษาภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ร่วมกับการรักษาด้วยฮอร์โมนเอสโตรเจนในสตรีได้
- หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟ่อีนแอลกอฮอล์และเลิกการสูบบุหรี่
- ควมคุมน้ำหนักตัวอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
- ออกกำลังกายบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน ฝึกขมิบกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
- รักษาด้วยการผ่าตัดมีประสิทธิภาพสูงสุดในเพศหญิง
-
1.ซักประวัติเกี่ยวกับอาการ เช่น น้ำหนักลด มีพฤติกรรมการขับถ่ายเปลี่ยนไป มีภาวะขาดน้ำ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารเปลี่ยนไป มีความเจ็บปวดขณะขับถ่าย
2.ซักประวัติเกี่ยวกับโรคประจำตัวเช่นโรคเบาหวานภาวะสมองเสื่อม
3.การตรวจร่างกาย เช่น ตรวจช่องท้องตรวจริดสีดวงเฉพาะที่ ตรวจทวารหนัก และตรวจเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้
-มีการเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลงมี
-มีเพิ่มการใช้ยาในผู้สูงอายุ หรือได้รับประทายากลุ่ม anticholinergics,narcotics,dopaminergics
-ผู้สูงอายุที่จำกัดการเคลื่อนไหวนอนติดเตียง
-ภาวะแทรกซ้อนของ โรคทางระบบประสาท โรคของต่อม
ไร้ท่อ ภาวะทางจิตใจ
-
- ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
- รับประทานอาหารที่มีกากใยสูง
3.รับประทานยาระบาย bulk-forming,osmotic laxative ใช้ในผู้ป่วยที่มีโรคทางระบบประสาทหรือจำกัดการเคลื่อนไหว หากได้รับยาระบายแล้วผู้ป่วยไม่ตอบสนองให้รักษาด้วยยา stimulant laxatives เพื่อกระตุ้นการบีบตัวของลำไส้
-
มีอาการนอนไม่หลับอย่างน้อย 3 เดือน
หรือมีความถี่อย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์
-การนอนหลับในช่วงหลับฝันหรือมีการนอนที่มี
การเคลื่อนไหวตาไปอย่างรวดเร็ว
-ระยะการหลับที่ไม่มีการกรอกตาแบบรวดเร็ว
แบ่งออกเป็น3 ระยะ 1.หลับตื้น 2.หลับกลาง 3.หลับลึก
-
- ซักประวัติเกี่ยวกับการนอนของผู้ป่วย เช่น เวลาเข้านอน เวลาตื่นกลางดึก
- ซักประวัติเกี่ยวกับยาที่ผู้ป่วยได้รับ
- ประเมินการ การทำงานของการนอนหลับ
-แบบประเมินคุณภาพการนอนหลับและความผิดปกติในช่วง 1 เดือน
-แบบทดสอบระดับความง่วงนอน
-โรคจิตเวช โรคซึมเศร้า วิตกกังวลหรือมีบุคลิกที่ผิดปกติ
-มีโรคประจำตัวหลายอย่าง เช่น โรคมะเร็งโรคหัวใจล้มเหลว
-มีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ จากการอุดกั้นทางเดินหายใจ
-การรับประทานเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เครื่องดื่มที่มีคาเฟ่อีนหรือสารนิโคติน
-
- หลีกเลี่ยงการนอนหลับระหว่างวันมากเกินไป
- จัดสิ่งแวดล้อมเหมาะสำหรับการนอนหลับพักผ่อน
- เข้านอนในช่วงเวลาเดียวทุกคืน
- ไม่ควรดื่มแอลกอฮอล์หรือคาเฟ่อีนภายใน 1 ถึง 2 ชั่วโมงก่อนนอน
- แนะนำให้ผู้ป่วยปิดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
เช่น โทรศัพท์แทบเลทอย่างน้อย 1 ชั่วโมงก่อนเข้านอน
- อ่านหนังสือก่อนเข้านอน
7.ออกกำลังกายระหว่างวันอย่างน้อย 20-30 นาทีต่อวัน
- รับประทานอาหารเสริม Melatonin supplements รับประทานก่อนเข้านอน 1 ถึง 2 ชั่วโมง ช่วยให้นอนหลับดีขึ้น ในผู้สูงอายุที่มีอาการนอนไม่หลับ
- รับประทานยา Trazodone ในขนาดต่ำืสำหรับโรคนอนไม่หลับในผู้สูงอายุ
-
รู้สึกด้อยค่าในตนเองหรือมีอาการเจ็บป่วยมีการพัดตกหกล้ม สูญเสียการทรงตัว ด้อยค่าในการเดิน ทำให้สูญเสียความมั่นใจในตนเอง มีการมองเห็นที่เปลี่ยนไป มีภาวะสมองเสื่อม
มีการทำงานทางสติปัญญาลดลง
-
- ในผู้สูงอายุ ที่มีประวัติการหกล้มควรได้รับการออกกำลังกาย
โดยการเดิน การทรงตัว
- ออกกำลังกาย เช่น ไทเก็ก ลดความเสี่ยงของการหกล้มในช่วงระยะเวลาสั้นสั้นประมาณ 4 เดือน
- จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ
ลดการพัดตกหกล้ม
- ใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือ เช่น ไม้เท้า ไม้ค้ำยัน
- ดูแลภาวะแทรกซ้อนทางสายตาเช่น ต้อกระจก เลนสายตาลดลง
- สวมใส่รองเท้าส้นเตี้ยพื้นแข็ง
-
- การซักประวัติเจ็บป่วย
- การตรวจร่างกาย
- การใช้เครื่องมือแบบทดสอบสมองเสื่อมเบื้องต้นฉบับภาษาไทย (MMSE-Thai)
- CT scan, MRI scan
การลดลงของการทำงานทางสติปัญญาเมื่อเปรียบเทียบกับระดับการทำงานก่อนหน้านี้ของผู้ป่วย
มีอาการลืมวัน เวลา สถานที่ ถามคำถามซ้ำ หลงลืมหลงทางในสิ่งรอบข้างที่คุ้นเคย มีอารมณ์เศร้าโศกก้าวร้าว มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทางสังคม
-
1.ไม่ใช้ยา
-ให้ผู้ดูแลสอนและดูแลกิจวัตรประจำวัน
-บำบัดจิตวิทยา
-ดูแลจัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัยและไม่มีสิ่งกีดขวางทำให้เกิดการพัดตกหกล้มติดตั้งราวจับในบริเวณที่สำคัญ
-จัดเก็บของที่อันตราย เช่น ของมีคม ยา แอลกอฮอล์ สารทำความสะอาดที่เป็นพิษ ควรจัดเก็บใส่ไว้ในตู้และติดตั้งตัวล็อกไว้บนตู้
2.ใช้ยา
สารยับยั้งโคลีนเอสเทอเรส
-Donepezil (Aricept)
-Rivastigmine (Exelon)
-Galantamine (Reminyl)
ยาอื่นๆ
-Vitamin E
-Gingko biloba (Tanakan)
-Antidepressants
-Tranquilizers
-NSAID
-
- แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 2Q,9Q,
- แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ TGDS
- ซักประวัติและประเมินสภาพร่างกายการทำงานของความรู้และความเข้าใจ
- สัมภาษณ์คนในครอบครัว
เกิดจากมีความเจ็บป่วยเรื้อรัง ได้รับประทานยาหลายชนิด
มีการฟื้นตัวล่าช้าจากการเจ็บป่วยและการผ่าตัด ได้รับการดูแลระยะยาวหรือมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม อยู่คนเดียวูญเสียอวัยวะบางส่วน สูญเสียสมาชิกในครอบครัว เพื่อนร่วมงานหรือสัตว์เลี้ยง
มีความบกพร่องทางสติปัญญา มีคุณค่าชีวิตลดลง
มีความคิดที่จะฆ่าตัวตาย
-
1.ในภาวะซึมเศร้าเล็กน้อยถึงปานกลางรักษาด้วย
การให้คำปรึกษาและการออกกำลังกาย
2.ในภาวะซึมเศร้าขั้นรุนแรง ให้การรักษาด้วยการ
ให้ยาต้านเศร้าและจิตบำบัด เช่น การบำบัดระหว่างบุคคลการ บำบัดด้วยการแก้ปัญหา
3.ยาต้านอาการซึมเศร้า สำหรับรักษาภาวะซึมเศร้า
ในผู้สูงอายุ Selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs).
- การรักษาด้วยไฟฟ้า Electroconvulsive therapy: ECT
-
มีความบกพร่องทางระบบประสาทสัมผัส การได้ยิน การมองเห็น
หรือโรคทางระบบประสาทเฉียบพลัน เช่น หลอดเลือดสมอง เยื่อหุ้มสมองอักเสบการหกล้มหรือเดินผิดปกติ ได้เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก ได้รับยาบางชนิด เช่น ยากล่อมประสาท ยาเสพติด
หรืออยู่ในระยะถอนแอลกอฮอล์มีลักษณะอาการเพ้อคลั่งกระสับกระส่าย หวาดระแวง หรือมีอาการประสาทหลอน หลงผิด มีอาการเซื่องซึม ตอบสนองช้า
-
- หลีกเลี่ยงยา benzodiazepines,anticholinergics
เป็นสารก่อให้เกิดอาการเพ้อคลั่ง
- ผู้ดูแลควรให้คำแนะนำที่ชัดเจนและสบตาผู้ป่วยบ่อยบ่อยๆ
3.ในผู้ป่วยที่มีความบกพร่องทางประสาทสัมผัส
เช่น การมองเห็น การได้ยินควรลด การใช้อุปกรณ์ เช่น แว่นตา หรือเครื่องช่วยฟัง
- จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยอยู่ในที่เงียบสงบ ลดเสียงรบกวน ให้ผู้ป่วยได้นอนหลับพักผ่อนได้อย่างเพียงพอ
5.ใช้ยา Haloperidol เป็นยารักษาโรคจิตเภท ผู้ป่วยอารมณ์สองขั้ว หรือรักษาโรคจิตเฉียบพลัน และอาการประสาทหลอนในผู้ป่วยโรคสั่นเพ้อเหตุจากการขายสุรา
- ยารักษาโรคจิตผิดปกติ เช่น risperidone, olanzapine, quetiapine เพื่อรักษาอาการกระสับกระส่ายในผู้ป่วยที่มีอาการเพ้อ
-
- แบบประเมินภาวะโภชนาการ (MNA)
- แบบประเมินภาวะโภชนาการชนิดมาตรฐาน (SGA)
- แบบประเมินคุณค่าทางโภชนาการ (INA)
เกิดจากการบริโภคที่ไม่เพียงพอตามความต้องการของร่างกาย การดูดซึมที่บกพร่องมีการเปลี่ยนแปลงในร่างกาย อาจจะเกิดจากปัญหาต่างๆเช่น สังคม จิตใจ การทำงาน เป็นเหตุทำให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ
-
ให้รับประทานอาหารเสริมมีคุณค่าทางโภชนาการคครบถ้วน
และมีโยชน์เช่น ในผู้ป่วยที่มีความอยากอาหารน้อยลง
หรือต้องการสารอาหารเฉพาะ
-
การทำร้ายร่างกาย การกระทำให้ผู้ใหญ่เกิดการเจ็บป่วย
หรือบาดเจ็บทางร่างกาย มีรอยฟกช้ำ มีรอยกดทับ
กระดูกหัก รอยถลอก
-
การล่วงละเมิดทางเพศ การสัมผัส ลบไล้ การมีเพศสัมพันธ์
หรือกิจกรรมทางเพศกับผู้ใหญ่ ที่ไม่เต็มใจยินยอม
คุกคาม บังคับทางร่างกาย
-
การละเมิดทางอารมณ์ การทำร้ายด้วยวาจา การคุกคามล่วงละเมิดด้วยการข่มขู่ มีภาวะซึมเศร้าผิดปกติ มีความสัมพันธ์ที่ตึงเครียด
มีปากเสียงกันบ่อยระหว่างผู้ดูแลและผู้สูงอายุ
-
-
การละเลย พิกเฉยขันแข็ง การเป็นปฏิเสธสำหรับการดูแลทางการแพทย์ ที่พักอาศัย อาหาร อุปกรณ์การรักษา หรือความช่วยเหลือทางกายภาพ ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับอันตราย
ทั้งร่างกาย จิตใจ
-
การแสวงหาผลประโยชน์ทางการเงิน การใช้ในทางที่ผิด
หรือการระงับทรัพย์ของผู้สูงอายุ เช่น มีลายเซ็นปลอมในเอกสารการเงิน ค้างค่าชำระ มีการเปลี่ยนแปลงแบบการใช้จ่าย
-