Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา คุณ ก. ภาวะเครียด - Coggle Diagram
กรณีศึกษา คุณ ก.
ภาวะเครียด
สาเหตุของความเครียด
สาเหตุจากภายนอก
สัมพันธภาพภายในครอบครัวต่ำ
สามี มีพฤติกรรมก้าวร้าวและทำร้ายร่างกายคุณ ก เสมอ
สถานะทางการการเงินไม่คล่องตัว
ลูกสาวร้บภาระค่าใช้จ่ายภายในบ้านทั้งหมด
คิดว่าตนเป็นภาระของลูกสาว
การประกอบอาชีพแม่บ้าน
สาเหตุภายในตัวบุคคล
ภาวะความเจ็บป่วยที่เผชิญอยู่
อาการปวดข้อเรื้อรัง
อาการ Autoimmune ส่งผลต่อผิวหนังและข้อกระดูก
มีอาการบวมแดงและผมร่วงในบางครั้ง
อาการแพ้เกสรดอกไม้
ระดับของความเครียด
ความเครียดระดับสูง
ความเครียดที่เกิดจากเหตุการณ์รุนแรง สามีทำร้ายร่างกาย
มีความเจ็บป่วยทางกายแบบเรื้อรัง
ปรับความรู้สึกด้วยความอยากลำบากส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน
การตอบสนองของบุคคลต่อความเครียด
การตอบสนองด้านร่างกาย
ระยะต่อต้อน (stage of resistance)
ร่างกายมีการปรับตัวเพื่อคงไว้ซึ่งความสมดุล
ร่างกายจะเริ่มมีความผิดปกติในระบบต่างๆ
ปฏิกิริยาการตอบสนองเฉพาะที่ของร่างกาย
(local adaptation syndrome)
ผิวหนังมีอาการบวมแดงเนื่องจากอาการ Autoimmune
ระยะหมดกำลัง (stage of exhaustion)
มีภาวะเครียดรุนแรงที่ยาวนาน ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลไว้ได้
การตอบสนองด้านจิตใจ
ยอมรับและเผชิญกับความเครียด
แสวงหาความช่วยเหลือ ด้วยการเข้ารักษาตัว
สร้างภูมิคุ้มกัน สร้างความเข้มแข็งให้กับตนเอง
เครื่องมือในการประเมิน
แบบสอบถามสุขภาพจิตทั่วไป THAI-GHQ
แบบวัดคุณภาพชีวิต WHOQOL-BREF-THAI
ผลกระทบของภาวะเครียด
ผลกระทบด้านร่างกาย
ระบบการสร้างภูมิคุ้มกันมีประสิทธิภาพลดลง
เกิดอาการปวดข้อเรื้อรังและ Autoimmune
เสี่ยงต่อการแพ้เกสรดอกไม้รุนแรงมากยิ่งขึ้น
ผลกระทบด้านจิตใจ
ก่อให้เกิดความเครียด กลัว
ก่อให้เกิดความกลัว
เกิดความไม่สบายใจ คับข้องใจ รู้สึกตัวเองด้อยค่า
ผลกระทบด้านพฤติกรรม
นอนไม่หลับ ต้องรับประทานยานอนหลับทุกคืน
การพยาบาล
เป้าหมาย
เป้าหมายระยะสั้น
ลดความเครียดของผู้ป่วยให้กลับสู่สภาวะปกติ
เพื่อให้การบำบัดรักษาอาการทางกายที่มีอยู่ในขณะนั้น
เป้าหมายระยะยาว
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวต่อ
เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิกความเครียดได้โดยใช้กลวิธีที่เหมาะสม
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด เพื่อให้ผู้ป่วยได้รู้และเข้าใจตนเอง
ดูแลเพื่อคงไว้ซึ่งกิจวัตรประจำวัน
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับผู้ป่วย
กระตุ้นและให้กำลังใจผู้ป่วย
วางแผนการเปลี่ยนแปลงของตนเอง
ฝึกทักษะการคิดบวก
สอนและแนะนำให้ผู้ป่วยประเมินระดับความเครียดของตนเอง
ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์