Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา
…
หลักการ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา
และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา
-
-
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในประเทศ
กณวรรธน์ ลาขุมเหล็ก(บทคัดย่อ:2564)ได้ศึกษาเกี่ยวกับสภาพและแนวทางการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
- การเปรียบเทียบสภาพการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก ตามความคิดเห็น ของผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำแนกตามสถานภาพตำแหน่งและประสบการณ์การทำงาน โดยรวม และรายด้านไม่แตกต่างกัน
- สภาพการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก ตามความคิดเห็น ของผู้บริหารสถานศึกษาและครู โดยรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก
วิชญ์ภาส สว่างใจ(บทคัดย่อ:2558)ได้ศึกษาเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของสถานศึกษา ในเขตอำเภอปลาปาก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1
การบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านบุคลากร ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ด้านวัสดุอุปกรณ์
พิกุล ถนอมขวัญ(บทคัดย่อ:2558)ได้ศึกษาเกี่ยวกับสภาพและปัญหาการบริหารงานทรัพยากรทางการศึกษาของสถานศึกษาสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2
ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนที่มี เพศ ตำแหน่ง และประสบการณ์ ในการทำงานต่างกัน มีระดับความ คิดเห็นต่อสภาพและปัญหาในการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาไม่แตกต่างกันทั้งในภาพรวมและรายด้าน
สุริยาพร ดวงจักร ณ อยุธยา (บทคัดย่อ:2558)ได้ศึกษาเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อำเภอปากช่อง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4
ด้านที่มีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อยู่ 3 ด้าน คือ ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ด้านการบริหาร ทรัพยากรการเงิน และด้านการบริหารทรัพยากรสารสนเทศ และเทคโนโลยี ส่วนด้านอื่นไม่แตกต่างกัน
ต่างประเทศ
ซาง (Tsang, 2001, Abstract) ศึกษาการจัดสรรเงินงบประมาณด้านการศึกษาในประเทศจีน
รัฐบาลเป็นผู้จัดสรรเงินงบประมาณเพื่อการลงทุนทาง การศึกษา ด้านความเสมอภาคทางการศึกษาเป็นหน้าที่ของรัฐบาลที่ต้องขจัดปัญหาทางการศึกษา โดยเฉพาะกลุ่มคนยากจน
ฟรีแมน (Freeman, 2000, P. 165) ได้ทำการวิจัย เรื่อง การจัดระบบทรัพยากรให้ เกิดความเหมาะสมกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ในโรงเรียนมัธยมศึกษาของ Tennessee
โรงเรียนที่มีจำนวนนักเรียนมากกว่าก็มีค่าใช้จ่ายต่อจำนวนนักเรียนมาก ขึ้นตามไปด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อจัดซื้อวัสดุช่วยสอน เทคโนโลยีทรัพยากรและจัดหาบุคลากรทางการสอน ในจำนวนที่มากขึ้น แม้ว่าการจัดสรรทรัพยากรทางการเงิน จะยังไม่สามารถอธิบายถึงระดับของผล การปฏิบัติงานของโรงเรียนได้
ออคพาลา (Okpala, 1998, P. 135) ได้วิจัย เรื่อง การศึกษาผลกระทบของทรัพยากร ทางการศึกษากับลักษณะทางภูมิหลังของนกัเรียนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางด้านการเรียนวิชาการอ่าน และคณิตศาสตร์ของนักเรียนในชั้นเรียนเกรด 4
มีตัวแปร 2อย่างที่มีความสัมพันธ์อย่าง มีนัยสำคัญผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการอ่านและคณิตศาสตร์ของนักเรียนในชั้นเรียนเกรด 4 เมื่อถูกประเมินด้วยแบบทดสอบตอนปลายปีค่าเฉลี่ยร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีอิสระหรือ ยกเลิกโครงการอาหารกลางวันได้มีความสัมพันธ์กันในด้านลบกับระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน
-