Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 การออกแบบการวิจัย - Coggle Diagram
หน่วยที่ 4 การออกแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
การวิจัยเชิงคุณภาพ
ความหมาย : การศึกษาหาความรู้จากปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในสภาพความเป็นจริงโดยใช้วิธีการศึกษาแบบเจาะลึกและใช้ระยะเวลานานในการทำความเข้าใจ
รูปแบบและแนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงชาติพันธู์วรรณนา
แบบศึกษารายกรณี
แบบสร้างทฤษฎีจากข้อมูล
แบบปรากฎการณ์วิทยา
แบบสนทนากลุ่ม
แบบมีส่วนร่วม
ลักษณะสำคัญ
เน้นข้อมูลด้านความรู้สึกนึกคิด จิตใจ
ศึกษาปรากฎการณ์ในบริบทสังคมและวัฒนธรรม
ศึกษาติดตามระยะยยาวและเจาะลึกบางเรื่อง
คำนึกถึงความเป็นมนุษย์ของผู้วิจัย
วิธีการเก็บรวบรวม
การสังเกต
การสัมภาษณ์
การวิจัยเอกสาร
การศึกษาชีวประวัติ
ข้อดีและข้อเสีย
ข้อดี
เป็นการศึกษาหน่วยสำหรับการวิเคราะห์อย่างลึกซึ้ง
เหมาะสำหรับการวิจัยที่หน่วยการวิเคราะห์มีไม่มาก
ข้อเสีย
ไม่เหมาะกับการวิจัยที่มีหน่วยวิเคราะห์จำนวนมาก
ข้อสรุปเป็นเฉพาะหน่วยสำหรับการวิเคราะห์ที่ศึกษาเท่านั้น
การวิจัยเชิงปริมาณ
ความหมาย : การศึกษาหาความรู้จากปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในสภาพความเป็นจริงตามธรรมชาติโดยมองภาพกว้าง ใช้ในการเก็บข้อมูลตัวเลขเชิงปริมาณ และสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
รูปแบบและแนวทางวิจัยเชิงปริมาณ
1.การวิจัยแบบทดลอง
การวิจัยกึ่งทดลอง
การวิจัยแบบไม่ทดลอง
ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงปริมาณ
มีเป้าหมายมุ่งค้นพบหรือทดสอบ ยืนยันทฤษฎี
ส่วนใหญ่เป็นการศึกษาความรู้ ความคิด และพฤติกรรมของมนุษย์
เป็นการตั้งคำถามวิจัยหรือสมมติฐานการวิจัยที่เจาะจงเอาไว้ก่อนซึ่งรองรับด้วยองค์ความรู้หรือทฤษฎีที่มีอยู่แล้ว
เป็นกระบวนการวิจัย และผสมผสานระหว่างวิธีอนุมานและการอุปมาน
แบบแผนการวิจัยมีการกำหนดไว้ชัดเจน ซึ่งมีลำดับขั้นตอนการวิจัยที่ค่อนข้างเข้มงวดตายตัว
มีการควบคุมตัวแปรผันให้น้อยที่สุด
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบสอบถาม
แบบทดลองทั้งกึ่งทอดลองและไม่ทดลอง
ข้อดีและข้อเสีย
ข้อดี
เป็นการศึกษาที่มีหน่วยวิเคราะห์จำนวนมาก
ข้อสรุปน่าเชื่อถือ
การวัดตัวแปร ใช้เครื่องมือวัดที่ไม่ต้องอาศัยวิจารณญาณของผู้วิจัย
ข้อเสีย
ไม่สามารถศึกษาหน่วยวิเคราะห์ได้อย่างลึกซึ้ง
ศึกษาหน่วยวิเคราะห์ได้เพียง 1-2 หน่วย จะใช้ไม่ได้ เหมาะสำหรับวิธีทางสถิติ
แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบวิจัย
ความหมายและความสำคัญของการออกแบบวิจัย
ความหมาย : เป็นขั้นตอนหนึ่งในกระบวนการวางแผนการวิจัยเพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็นในการตอบโจทย์วิจัยตามวัตถุประสงค์การวิจัย และสมมติฐานของการวิจัย
ลักษณะการออกแบบการวิจัยที่ดี
ปราศจากความลำเอียง
ปราศจากความสับสน
สามารถควบคุมตัวแปรภายนอกได้
มีการใช้สถิติที่ถูกต้องในการทดสอบสมมติฐาน
ความสำคัญ
ทำให้วิจัยได้อย่างเป็นระบบ
ทำให้ควบคุมขนาดของการแปรผันในเรื่องที่ศึกษาได้
ใช้เป็นหลักช่วยให้การวิจัยไปในทิศทางที่ถูกต้อง
ช่วยให้ผู้วิจัยเห็นภาพรวมทั้งหมดก่อนเริ่มลงมือวิจัย
องค์ประกอบของการออกแบบวิจัย
การออกแบบการวัดตัวแปร
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
วิธีการออกแบบวิจัย
การออกแบบประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
สุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็น
สุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น
การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
วิธีการเปิดตารางสำเร็จรูป
การคำนวณโดยใช้สูตรทางสถิติ
ใช้หลักร้อยละ
การออกแบบเครื่องมือวิจัย
ความหมาย : การวางแผนเกี่ยวกับเครื่องมือวิจัย เพื่อทำให้การวิจัยได้ผลตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
ประเภทเเครื่องมือวิจัย
เครื่องมือสร้างต้นแบบชิ้นงาน
เครื่องมือวัดคุณลักษณะประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือวัดบริบท
เครื่องมือวัดผลกระทบ
เครื่องมือทางสถิติ
การออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูล
ใช้แบบสอบถาม
ใช้แบบทดสอบ
ใช้แบบสังเกตุ
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
ลักษณะการวิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
สิ่งที่ต้องคำนึง
วัตถุประสงค์การวิจัย
จำนวนกลุ่มตัวอย่าง
ชนิดของข้อมูล
ระดับจองการวัด
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
การออกแบบเพื่อนำเสนอข้อมูล
นำเสนอในรูปแบบข้อความและข้อความกึ่งตาราง
นำเสนอในรูปแบบตาราง
นำเสนอในรูปแบบแผนภูมิ