Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 การทบทวนวรรณกรรมและการสร้างกรอบความคิดการวิจัย - Coggle Diagram
หน่วยที่ 3 การทบทวนวรรณกรรมและการสร้างกรอบความคิดการวิจัย
แนวคิดเกี่ยวกับการทบทวนวรรณกรรม
ความหมายและความสำคัญ
ความสำคัญ
เสริมสร้างองค์ควารู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง
สร้างมุมมองให้แปลกใหญ่โดยเฉพาะมุมมองจากผู้อื่น
ทราบถึงการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหัวเรื่องที่นักศึกษาสนใจ
ได้แนวความคิดในการกำหนดปัญหาการวิจัย
สร้างสมประสบการณ์ในการทำวิจัย
การศึกษาค้นความแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหัวเรื่องวิจัย แล้วนำมาประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์ออกมาเพื่อนำเสนอวรรณกรรมซึ่งสนับสนุนความเห็นและเหตุผลของนักศึกษาเกี่ยวกับการวิจัยที่กำหนดไว้
ประเภทและแหล่งที่มาของวรรณกรรม
ประเภท
ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
แหล่งที่มา
ห้องสมุด
การสืบค้นออนไลน์
สารบัญเอกสาร
บรรณานุกรม
ดรรชนีวารสาร
ชนิดของวรรรณกรรม
บทความทางวิชาการ
บทคัดย่อและรายงานผลการวิจัย
หนังสือตำรา
พจนานุกรม
สารานุกรรม
คู่มือ
ฐานข้อมูลอินเตอร์เน็ต
แนวทางการทบกวนวรรณกรรม
การวางโครงเรื่อง
การรวบรวมวรรณกรรมที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า
การคัดลอกทำสำเนา
การจัดระบบเก็บข้อมูลเนื้อหา
การทำบันทึกรายการข้อมูบที่รวบรวมไว้
เรียงลำดับเหตุการณ์ตามลำดับเนื้อหาในโครงเรื่อง
อ้างอิงที่มาของวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรมและการเรียบเรียงวรรณกรรม
การประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์วรรณกรรม
การประเมินวรรณกรรม
ประเมินเบื้องต้น
ประเมินเนื้อหา
การวิเคราะห์วรรณกรรม
เพื่อให้เข้าใจส่วนประกอบและสาระสำคัญของวรรณกรรม
เพื่อการบูรณาการวรรณกรรม
การสังเคราะห์วรรณกรรม
การเรียงร้อยถ้อยความเป็นลักษณะการนำประเด็นสำคัญ
การบูรณาการมีลักษณะเป็นการอ่านแล้วจับประเด็นที่เป็นข้อสรุปสำคัญจากวรรณกรรมต่างๆ
การเรียบเรียงวรรณกรรม
การกำหนดโครงสร้างของวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
รูปแบบที่ 1 มีลักษณะแยกส่วนเนื้อหาสาระ
รูปแบบที่ 2 มีลักษณะบูรณาการเนื้อหาสาระ
วิธีการเรียบเรียงวรรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
เรียบเรียงเนื้อหาสาระของวรรณกรรม
วรรณกรรมที่เป็นงานวิจัย
วรรณกรรมที่ไม่ใช่งานวิจัย
2.ลำดับการนำเสนอ
ตามหัวข้อเนื้อหา
ตามเวลา
การอ้างอิง
อ้างอิงในเนื้อหา
อ้างอิงในบรรณานุกรม
การสร้างกรอบความคิดการวิจัยและการกำหนดสมมติฐานการวิจัย
การสร้างกรอบความคิดการวิจัย
คือ กรอบของการวิจัยในด้านเนื้อหาาสทระ ซึ่งประกอบด้วยตัวแปรและการระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
นำเสนอกรอบความคิดได้ 2 ช่วง
การทำข้อเสนอโครงการวิทยานิพนธ์เป็นการนำเสนอต้นร่างที่เกิดจากการสังเคราะห์เนื้อหาสาระโดยสังเขป
การนำเสนอผลการศึกษา โดยนำกรอบความคิดต้นร่างมาเป็นฐานสำหรับการค้นคว้า สังเคราะห์เนื้อหาสาระโดยละเอียดจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดสมมติฐานการวิจัย
ข้อความที่เกิดจากการคาดการณ์ของนักศึกษาที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ศึกษาตั้งแต่ 2 ตัวแปรขึ้นไป
แบ่งเป็น 2 ชนิด
สมมติฐานทางวิจัย
สมมติฐานทางสถิติ