Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathophysiology of GI Injury, นางสาวกันต์สินี ศรีพัฒโนทัย 64201302004 -…
Pathophysiology of GI Injury
การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้อง
อวัยวะตัน
ตับ
ไต
ม้าม
ตับอ่อน
อวัยวะกลวง
ลำไส้ใหญ่
ลำไส้เล็ก
ถุงน้ำดี
ท่อไต
กระเพาะอาหาร
กระเพาะปัสสาวะ
ประเภทของการบาดเจ็บช่องท้อง
1.การบาดเจ็บแบบทื่อ (blunt injury)
ภยันตรายแบบกระทบกระแทก
แรงกดปะทะ
แรงกดกระทันหัน
แรงกระแทกโดยตรง
แรงหยุดอย่างรุนแรง
ภยันตรายแบบทับบด
แรงอัด
แรงบด
2.การบาดเจ็บแบบทะลุทะลวง (penetrating injury)
การบาดเจ็บจากภายใน
การสอดใส่เครื่องมือแพทย์
การกลืนของแหลมคม
การบาดเจ็บจากภายนอก
แผลถูกยิง
Gunshot wound
ถูกยิงจากปืนพกมาตราฐาน
ปืนลูกกรด
ปืนอาวุธสงคราม
Shotgun wound
ถูกยิงด้วยปืนลูกซอง
ปืนแก๊ป
แผลถูกระเบิด
ระเบิดประดิษฐ์ขึ้นใช้ในการสงคราม
ระเบิดแสวงเครื่องประดิษฐ์จากวัสดุในครัวเรือน
ระเบิดจากเชื้อเพลิงไวไฟ
ถูกของแหลมคม
แรงถ่าง
Mechanism & Specific injury
Bicycle handle bar injury
มักพบในเด็กที่ขี่จักรยานแล้วสดุดก้อนหินหรือตกหลุม ส่วน handle bar พลิกแล้วกระแทกบริเวณลิ้นปี่ ทำให้เด็กมีอาการปวดท้อง
3.Steering wheel injury
เกิดจากการกระแทกของพวงมาลัยรถยนต์บริเวณช่องท้อง
1.Seatbrlt injury
การบาดเจ็บที่เกิดจาการใส่เข็มขัดนิรภัยไม่ถูกต้อง
พยาธิสรีรวิทยาการบาดเจ็บ
การบาดเจ็บที่หลอดอาหาร
สาหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากการถูกยิง ถูกแทง หรือจากเศษวัสดุ
อาการ
คลำได้เสียงกรอบแกรบ ปวด กดเจ็บ ปวดมากขึ้น เมื่อผงกศีรษะ หายใจลำบาก เสียงแหบ มีเลือดออกในช่องปาก ไอ และมีเสียง stridor
การรักษา
การผ่าตัดซ่อมแซมบริเวณที่มีการบาดเจ็บฉีกขาดอย่างรวดเร็ว
ใส่ G-tube ,ใส่ท่อระบาย ,ให้ยาปฏิชีวนะ
การบาดเจ็บที่ดูโอดีนั่ม
การรักษา
โดยการผ่าตัดเปิดช่องท้อง สำรวจหารูทะลุ รอยฉีกขาด แล้วทำการเย็บซ่อมแซม
อาการ
เกิดการหรือเลือดคั่งในผนังดูโอดินั่ม
เกิดอาการลำไส้เล็กส่วนตนอุดตัน
การบาดเจ็บที่กระเพาะอาหาร
อาการ
พบอาการปวดที่บริเวณลิ้นปี่ ซึ่งเกิดอย่างรวดเร็ว กดเจ็บ ปวดท้อง หน้าท้องแข็งเกร็ง จากการที่ เยื่อบุช่องท่องถูกระคายเคืองจากน้ำย่อยที่รั่วออกทางบาดแผล
การรักษา
ผ่าตัดซ่อมแซม การเย็บปิด,ใส่ G tube คาไว้,ให้ยาลดกรด
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกจากบริเวณแผลเย็บ
เกิดหนองหรือใต้ตับ ใต้กระบังลม
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
การบาดเจ็บที่เจจูนั่มและไอเลี่ยม
สาเหตุ
เกิดจากการถูกแทง ถูกยิง หรือถูกกระแทกกับกระดูกสันหลัง
อาการ
ปวดท้อง กดเจ็บ หน้าท้องแข็งเกร็ง เสียงเคลื่อนไหวของลำไส้ลงหรือไม่มีเลย ความดันโลหิตต่ำจากการเสียเลือด
การบาดเจ็บกระบังลม
สาเหตุ
มักเกิดจากแรงกระแทกจากอุบัติเหตุรถชน 80 %
อาการ
ฟังเสียงหายใจได้เสียงเบาลง
การทะลักของลำไส้เข้าไปอยู่ในทรวงอกจะได้ยินเสียงเคลื่อนไหวลำไส้
การโป่งยื่นของกะบังลม
การบาดเจ็บที่ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
สาเหตุ
อาจเกิดจากถูกยิง ถูกกระแทกขณะเกิดอุบัติเหตุ
อาการ
ปวดท้อง หน้าท้องแข็งเกร็ง
การรักษา
การผ่าตัดเปิดหน้าท้อง
ผ่าตัดซ่อมแซมลำไส้หรือทวารหนักส่วนที่บาดเจ็บหรือฉีกขาด
ให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทนทางหลอดเลือดดำ
การบาดเจ็บที่ตับ
สาเหตุ
เกิดจากการถูกกระแทกและบาดแผลไม่เข้าช่องท้อง ประมาณ 70%
การบาดเจ็บที่เกิดจากของมีคมและบานแผลทะลุเข้า ไปในช่องท้อง ประมาณ 30%
ความรุนแรง
ระดับที่ 4 พบรอยฉีกขาดของตับ 25-75 % หรือ 1-3
ระดับที่ 3 พบรอยกาลของลับ > 3 cm
ระดับที่ 2 พบรอยฉีกขาระหว่าง 1-3 cm
ระดับที่ 5 พบรอยฉีกขาดของตับ >75 % หรือ > 3
ระดับที่ 1 พบรอยฉีกขาดของตับ < 1 cm
ระดับที่ 6 พบการฝึกขาดรุ่งริ่งของเส้นเลือดและเนื้อตับ
อาการและอาการแสดง
ถ้าเยื่อหุ้มฉีกขาดจะทําให้เลือดและน้ำที่ไหลเข้าสู่ช่องท้อง เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุช่องท้อง มีอาการหน้าท้องแข็งเกร็ง
ถ้าเยี่อหุ้มพับชั้นในฉีกขาดโดยที่ชั้นในไม่ฉีกขาด โดยไม่แสดงแต่อาจมีอาการในระยะต่อมา
ปวด กดเจ็บบริเวณชายโครงขวาช่วง โครงซี่ที่ 6
การเกิดก้อนเลือดใต้เยื่อหุ้มตับ
เลือดออกในทางเดินน้ำดี เลือดออกไหลเข้าสู่ช่องท้อง ท่อน้ำดีอุดตัน
อาการปวดท้องอย่างรุนแรงจนตัวงอ
การวินิจฉัย
จากการเจาะท้องหรือทำ DPL (drainage peritoneal lavage)
การทำ CT Scan
การซักประวัติ ตรวจร่างกาย มีการบาดเจ็บบริเวณลิ้นปี่และชายโครงขวา
จากการท่า FAST (Focused Assessment Sonographic for Trauma)
การรักษา
การผ่าตัดเปิดช่องท้อง
การให้เลือด สารน้ำและเกลือแร่อย่างเหมาะสมเพียงพอ
การให้ยาปฏิชีวนะ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะตกเลือดจากการบาดเจ็บ
ภาวะติดเชื้อในร่างกาย
ระดับบิลิรูบินในเลือดสูงขึ้นหลังผ่าตัด
การบาดเจ็บที่ตับอ่อน
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากยิงหรือถูกแทง เกิดบาดแผลทะลุเข้าไปในช่องท้อง
อาการ
ปวดบริเวณลิ้นปี่ โดยมีการกระจายความเจ็บปวดไปยังที่อยู่
การบาดเจ็บที่ม้าม
สาเหตุ
เกิดจาการถูกยิง
ถูกแทงทำให้มีบาดแผลทะลุเข้าช่องท้อง
การถูกกระแทกอย่างรุนแรง
การตรวจวินิจฉัย
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องท้อง
ความรุนแรง
ระดับที่ 4 พบรอยฉีกขาดของม้ามปริมาณมาก
ระดับที่ 3 พบรอยฉีกขาดของม้าม >3 cm
ระดับที่ 2 พบรอยฉีกขาดของม้ามระหว่าง 1-3 cm
ระดับที่ 5 พบรอยกดของม้ามแบบเปื่อยยุย หรือขาดเส้นเลือดไปเลี้ยงม้าม
ระดับที่ 1 พบรอยฉีกขาดของม้าม <1 cm
การรักษา
กรณีบาดเจ็บไม่รุนแรงจะเลือกใช้วิธีเย็บซ่อมแซมม้าม
ให้ยาปฏิชีวนนะ ป้องกันการติดเชื้อ
ารให้เลือด สารน้ำและเกลือแร่ทดแทนอย่างเพียงพอ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะตกเลือดจากการฉีกขาดของม้าม อาจจะรุนแรงจนเกิดภาวะช็อค
ภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบที่ม้าม การติดเชื้อของบาดแผล
ตับอ่อนอักเสบ
การบาดเจ็บบริเวณช่องท้อง
ระบบทางเดินอาหารเป็นหลอดที่ติดกัน ตั้งแต่ปากจนถึงทวารหนัก ยาวประมาณ 9 เมตร ซึ่งบริเวณช่องท้องเป็นบริเวณที่มีพื้นที่มากที่สุดในร่างกาย จึงมีโอกาสได้รับบาดเจ็บได้บ่อย
พยาธิสภาพเมื่อเกิดการบาดเจ็บช่องท้อง
3.Peritoneal irritation
peritonitis
Infectious
Sepsis
Chemical
Infection
4.Pneumo peritoneum
2.Bleeding
Hypovolemic shock
5.Evisceration
1.Pain
6.Foreign bodies
นางสาวกันต์สินี ศรีพัฒโนทัย 64201302004