Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของครู - Coggle Diagram
บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของครู
ความหมายของคำว่า"บทบาท" "หน้าที่"
และ "ความรับผิดชอบ"
"บทบาท" คือ ภาระที่ต้องรับผิดชอบตามสถานภาพของแต่ละบุคคล
"บทบาทของครู" ภาระที่ผู้เป็นครูต้องรับผิดชอบ
"หน้าที่" กิจที่ควรกระทำหรือสิ่งที่บุคคลจำเป็นต้องกระทำ
"ความรับผิดชอบ" พฤติกรรมที่บุคคลต้องทำให้เสร็จตามหน้าที่
บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของครู หมายถึง กิจที่ผู้เป็นครูจำเป็นต้องกระทำโดยอาศัยศีลธรรม คุณธรรม และจริยธรรม
บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของครู ตามหลักคำสอนในพระพุทธศาสนา
พระพรหมคุณาจารย์ อธิบายคำว่าครูไว้
2 ประการ
สิปกทายก หรือ ศิลปทายก คือ ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์
กัลยาณมิตร คือ การสั่งสอนให้ศิษย์มีปัญญาและคุณธรรม
หลักทิศ 6
หน้าที่ของครูที่พึงกระทำต่อศิษย์
ฝึกฝนให้เป็นคนดี
สอนให้เข้าใจแจ่มแจ้ง
สอนศิลปวิทยาให้สิ้นเชิง
ยกย่องให้ปรากฏในหมู่คณะ
สร้างเครื่องคุ้มภัยในสารทิศ
หน้าที่ของศิษย์ที่พึงกระทำต่อครู
ลุกขึ้นต้อนรับอาจารย์ เมื่อท่านเข้ามาหา
เข้าไปเพื่อบำรุง คอยรับใช้ ปรึกษา
ใฝ่ใจเรียน
ปรนนิบัติ ช่วยบริการ
เรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ
หน้าที่และความรับผิดชอบของครูตามทัศนะของบุคคลทั่วไป
สอนศิลปวิทยาการต่างๆให้แก่ศิษย์
ฝึกอบรมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันดีงาม
ปกครองดูแลความทุกข์สุขของศิษย์
การประเมินผลความเจริญก้าวหน้า
แนะแนวการศึกษาและอาชีพให้แก่นักเรียน
จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความเจริญงอกงามให้แก่ศิษย์
ปฏิบัติงานในหน้าที่และงานที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ
สร้างเสริมสมรรถภาพทางวิชาการให้แก่ตนอย่างสม่ำเสมอ
ดูแลสอดส่องป้องกันภัยไม่ให้เกิดแก่ทรัพย์สินของโรงเรียน
รักษาวินัยและประพฤติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์และบุคคลทั่วไป
บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของครูตามรูปคำภาษาอังกฤษ "TEACHERS"
็H human relationship
คือ การมีมนุษยสัมพันธ์
ระหว่างครูกับนักเรียน
สอนให้เด็กมีความรู้อย่างแท้จริง
ไม่พูดตลกแต่ไร้สาระ
ระหว่างครูกับครู
สอนไปในทางเดียวกัน
ช่วยเหลืองานกัน
ระหว่างครูกับชุมชน
เชิญร่วมกิจกรรมของโรงเรียน
เยี่ยมเยียนผู้ปกครองเพื่อสร้างความคุ้นเคย
C cultural heritage
คือ การสืบทอดวัฒนธรรม
ครูต้องหาความรู้เกี่ยบกับมรดกทางวัฒนธรรม และขนมธรรมเนียมประเพณี
สั่งสอนให้ศิษย์เข้าใจ และรู้จักรักษาวัฒนธรรมของตน
E evaluation
คือ การประเมินผล
วิธีการประเมินผล
การสังเกตพฤติกรรม
การทดสอบ
วินัยนักเรียน 3 ประการ
ประชานวิสัยหรือพุทธิวิสัย
วิภาววิสัยหรือจิตวิสัย
จลนวิศัยหรือทักษะวิสัย
A academic
คือวิชาการ
ครูต้องทันต่อโลกและก้าวทันวิชาการใหม่ๆ
E ethics
คือ จริยธรรม
ครูมีหน้าที่ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้แก่ศิษย์
ครูต้องฝึกให้เป็นผู้ที่มีคุณธรรมอันดี
R research
คือ การวิจัย
ครูจะต้องพยายามหาความรู้ความจริงเพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอน และแก้ปัญหาในตัวนักเรียน
T teaching คือการสอน การสอนของพระพุทธเจ้า 4 ประการ
สมาทปนา- ชวนใจให้อยากรับเอาไปปฏิบัติ
สมุตเตชนา- เร้าใจให้อาจหาญแกล้วกล้า
สันทัสสนา- ชี้แจงให้เห็นชัด
สัมปหังสนา- ปลอบประโลมใจให้สดชื่นร่าเริง
S service
คือ การบริการ
มีหน้าที่ต้องรับผิดชอบต่อการบริการศิษย์และผู้ปกครอง