Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยสูงอายุ, -ผู้สูงอายุที่ทำกิจวัตรประจำวันได้ลดลง
…
-
-ผู้สูงอายุที่ทำกิจวัตรประจำวันได้ลดลง
-ผู้สูงอายุน้ำหนักตัวลดลงมากกว่าร้อยละ 5 ใน 1 เดือน
-ผู้สูงอายุมีภาวะขาดสารอาหาร
-ผู้สูงอายุมีภาวะซึมเศร้า สติปัญญาบกพร่อง
-ผู้สูงอายุมีประวัติหกล้มบ่อย
-ผู้สูงอายุมีโรคเรื้อรัง เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง ถุงลมโป่งพอง เบาหวาน ไตเสื่อมเรื้อรัง
-สภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดการพัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
1.การวัดสมรรถภาพทางร่างกาย โดยการประเมินความสามารถทางกายฉบับย่อ SPPB
- เวลาที่ใช้ในการลุกนั่งจากเก้าอี้ 5 ครั้งใช้เวลามากกว่า 15 วินาที
- เวลาที่ใช้ในการเดิน ที่ระยะทาง 3-4 เมตร ใช้เวลามากกว่า 12 วินาที
- เวลาใช้ในการทรงตัว ใช้เวลามากกว่า 10 วินาที เช่น การยืนเท้าชิด (Side-by-side) การยืนต่อเท้า (Fandem stance) การยืนต่อเท้าแบบเฉียง (Semi tendem)
2.การวัดมวลกล้ามเนื้อ โดยใช้เครื่องวัดองค์ประกอบของร่ายกาย
- เพศชาย <7.0 กิโลกรัม/เมตร2
- เพศหญิง <5.0 กิโลกรัม/เมตร2
3.การวัดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
-การวัดแรงบีบมือ เพศชายต่ำกว่า 28 กิโลกรัม เพศหญิงต่ำกว่า
18 กิโลกรัม
- การลุกขึ้นยืนจากเก้าอี้ มากกว่า 60 วินาที
-การวัดแรงเหยียดเข่า
-
กระดูกอ่อนของข้อเข่าสึกกร่อน มีความเสื่อมไม่มีผิวกระดูกอ่อนมาห่อหุ้ม เนื้อกระดูกที่มาชนกันขณะรับน้ำหนักจึงทำให้เกิดอาการเจ็บปวดกระดูกจะมีการซ่อมแซมตัวเองจน เกิดเป็นกระดูกงอกขรุขระขึ้นภายในข้อ ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวติดขัด และมีเสียงดัง
การประเมินโรคข้อเข่าเสื่อ (Knee Osteoathritis)
- ข้อเข่าฝืดตึงหลังตื่นนอนตอนเช้านาน <30 นาที (stiffneess) - เสียงดังกรอบแกรบในข้อเข่าขณะเคลื่อนไหว (crepitus)
- กดเจ็บที่กระดูกข้อเข่า (bony tenderness)
- ข้อใหญ่ผิดรูป (bony enlargement)
- ไม่พบข้ออุ่น (no palpable warmth)
-
มีความหนาแน่นของเนื้อกระดูกต่อปริมาตร 1 ยูนิตลดลง มีการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างภายในกระดูก เกิดกระดูกแตกหักง่าย
1.แบบประเมินความเสี่ยงการเกิดกระดูกหัก FRAX 2.OsteoporosisSelf-Assessment Tool for Asians
(OSTA) = 0.2 x (น้ำหนัก - อายุ )
น้อยกว่า - 4 หมายถึง ความเสี่ยงสูง (พื้นที่สีน้ำเงิน)
ระหว่าง -4 ถึง -1 หมายถึง ความเสี่ยงปานกลาง (พื้นที่สีขาว)
มากกว่า -1 หมายถึง ความเสี่ยงต่ำ (พื้นที่สีแดง)
3.การตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูก (Bone densitomery) จากค่า T score
T score ที่สูงกว่า -1 (ลบ 1) มีความหนาแน่นกระดูกปกติ
T score ที่อยู่ต่ำกว่า -1 แต่สูงกว่า -5 กระดูกบาง
T score ที่ต่ำกว่า -5 เป็นโรคกระดูกพรุน
-
1.การตรวจน้ำตาลในเลือดโดยวิธีเจาะจากปลายนิ้ว
(FASTING CAPILLARY BLOOD GLUCOSE, FCBG) ระดับ FPG >126 มก./ดล.
ขณะอดอาหารผิดปกติ ระดับ FPG 100-125 มก./ดล.
2.การคัดกรองโรคเบาหวานโดยตรวจวัด CAPILLARY BLOOD
GLUCOSE จากปลายนิ้วโดยไม่ต้องอดอาหาร >110 มก./ดล.
- การตรวจความทนต่อกลูโคส (75 กรัม ORAL GLUCOSETO LERANCE TEST, OGTT) ระดับพลาสมากลูโคส 2 ชั่วโมงหลังดื่มน้ำตาล >200 มก./ดล.
-
-
วิธีการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
Thai CVD risk
1.มีภาวะอ้วนลงพุง
2.มีประวัติการเป็นโรคเบาหวาน
3.มีประวัติกาสูบบุหรี่
4.ช่วงอายุ -อายุ <40-49 ปี เลือกช่วง40
-อายุ50-54 ปี เลือกช่วง 50
-อายุ 55-59 ปี เลือกช่วง 55
-อายุ60-64 ปี เลือกช่วง 60
-อายุ 265 ปี เลือกช่วง 65
5.ค่าระดับความดันโลหิตตัวบน (SBP) จากการวัด 2 ครั้งใน 2 ช่วงเวลาห่างกันอย่างน้อย 1 สัปดาห์
-SBP < 120- 139 มม.ปรอท เลือกช่วง 120
-SBP 140-159 มม.ปรอท เลือกช่วง 140
-SBP 160-179 มม.ปรอท เลือกช่วง 160
-SBP 2 180 มม.ปรอท เลือกช่วง 180
6.เลือกคำรอบเอว : หน่วยเป็น ชม. น้อยกว่าหรือมากกว่าส่วนสูงหาร 2
-
-
1.การคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 2Q
-ถามถึงอาการที่เกิดขึ้นในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมาจนถึงวันสัมภาษณ์
-ขณะสอบถาม ถ้าผู้สูงอายุไม่เข้าใจให้ถามซ้ำ ไม่ควรอธิบายหรือขยายความเพิ่มเติมควรถามซ้ำจนกว่าผู้สูงอายุจะตอบตามความเข้าใจของตนเอง
- ถ้าตอบ "ไม่มี" ทั้งสองข้อ แสดงว่าปกติ
- ถ้าตอบ "มี" ข้อใดข้อหนึ่ง หรือทั้งสองข้อ แสดงว่า มีความเสี่ยงหรือมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคซึมเศร้า ให้ทำการประเมินด้วยแบบประเมิน 9Q ต่อ
2.การคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 9Q
-คะแนนรวม < 7 แสดงว่า ไม่มีอาการของโรคซึมเศร้า หรือมีอาการโรคซึมเศร้าระดับน้อยมาก
-คะแนนรวม 7-12แสดงว่ามีอาการของโรคซึมเศร้าระดับน้อย
-คะแนนรวม 13-18แสดงว่ามีอาการของโรคซึมศร้าระดับปานกลาง
-คะแนนรวม 19 ขึ้นไป แสดงว่า มีอาการของโรคซึมเศร้าระดับรุนแรง
-คะแนนรวม 7 ขึ้นไป ให้ประเมินแนวโน้มการฆ่าตัวตายด้วย 8Q
3.การประเมินแนวโน้มการฆ่าตัวตายด้วย 8Q
ประเมินครั้งแรกต้องถามให้ครบทุกข้อ ครั้งต่อไปถามเฉพาะข้อ 1-7 เท่านั้นเพื่อตัดข้อประวัติการฆ่าตัวตายในตลอดชีวิตออกไป จะเหลือความเสี่ยงใน 1 เดือนเท่านั้น โดยข้อที่ 3 ต้องนำคะแนนจากการตอบมารวมกัน ถ้าหากตอบว่า "ใช่" ทั้ง 2 ข้อ จะได้คะแนนในข้อนี้ 14 คะแนน
-0 คะแนน ไม่มีแนวโน้มฆ่าตัวตายในปัจจุบัน
-1-8 คะแนน มีแนวโน้มฆ่าตัวตายในปัจจุบันระดับน้อย
-9-16 คะแนน มีแนวโน้มฆ่าตัวตายในปัจจุบันระดับปานกถาง
->17 คะแนน มีแนวโน้มฆ่าตัวตายในปัจจุบันระดับรุนแรงให้ส่งต่อโรงพยาบาลที่มีจิตแพทย์ด่วน
1.ผู้สูงอายุที่มีอาการเคลื่อนไหวช้า สั่น ร่างกายเกร็ง
เดินลำบาก เดินซอยเท้า เท้าติดเวลาก้าวขา
2.มีประวัติการหกล้ม
3.ผู้สูงอายุมีอาการพูดช้า เสียงค่อย น้ำลายไหล
4.ผู้สูงอายุที่มีภวาะซึมเศร้า วิตกกังวล
-
Depressionภาวะซึมเศร้า
1.ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าระดับน้อย การช่วยเหลือตั้งแต่
การให้การปรึกษารายบุคคลและรายกลุ่ม เช่น การทำจิตบำบัดแบบประคับประคอง การทำกลุ่ม การทำจิตบำบัด
แบบประคับประคอง
2.ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าระดับปานกลางการช่วยเหลือทำได้โดยการให้การปรึกษา เช่น การทำกลุ่มบำบัด
การกระตุ้นสมองเฉพาะที่ด้วยสนามแม่เหล็ก
3.ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง ควรสังเกตอย่างใกล้ชิด ประเมินซ้ำและระมัดระวังการทำร้ายตนเองหรือฆ่าตัวตายแพทย์สั่งรักษาด้วยยาต้านเศร้าร่วมกับรักษาด้ายไฟฟ้า
1.ระดับความดันโลหิตซิสโตลิค (SBP) >,= 140 มม.ปรอท
และระดับความดันไดแอสโตลิค (DBP) > ,= 90 มม. ปรอท
2.ISOLATED SYSTOLIC HYPERTENSION (ISH) ระดับ SBP >,= 140
มม.ปรอท และระดับ DBP < 90 มม. ปรอท
3.WHITE-COAT HYPERTENSION (WCH) หมายถึง ภาวะที่วัดความดันโลหิตที่วัดในสถานบริการสุขภาพสูง แต่เมื่อวัดความดันโลหิตที่บ้านพบว่าไม่สูง
4.MASKED HYPERTENSION หมายถึง ภาวะที่มีความดันโลหิตที่วัดในสถานบริการสุขภาพปกติ แต่เมื่อวัดความดันโลหิตที่บ้านพบสูง
5.การวัดความดันโลหิตในแต่ละครั้งควรวัดอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกัน 1 นาที
จากแขนเดียวกันท่าเดิม หากพบว่า SBP จากการวัดทั้ง 2 ครั้งต่างกัน <5 มม.ปรอท ควรวัดเพิ่มอีก 1-2 ครั้งแล้วน่าผลที่ได้มาหาค่าเฉลี่ย
6.การประเมินผู้ป่วยครั้งแรกหรือผู้ที่เพิ่งตรวจพบว่ามีความดันโลหิตสูงแนะนำให้วัดความดันโลหิตที่แขนทั้งสองข้าง และหากต่างกันเกิน 20/ 10 มม.ปรอท
-
1.การป้องกันระดับปฐมภูมิ เน้นค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ โดยคัดกรองด้วยการวัดความดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะกลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยงโดยก่อนวัดความดันโลหิต ต้องงดสูบบุหรี่และดื่ม กาแฟอย่างน้อย 30 นาทีนั่งพักในบรรยากาศที่สงบอย่างน้อย 15 นาที ขณะวัดความดันโลหิต นั่งในท่าที่ผ่อนคลาย วางเท้า ราบกับพื้น ไม่ไขว่ห้าง วางแขนราบในระดับหัวใจ และไม่พูด บันทึกค่าความดันโลหิตไว้ทุกครั้ง หลังจากนั้น วัดความดันโลหิต ซ้ำในระยะเวลาที่เหมาะสม
2.การป้องกันระดับทุติยภูมิ เน้นการติดตามกลุ่มเสี่ยงไม่ให้ เป็นโรคความดันโลหิตสูง โดยลดหรือหลีกเลี่ยง ปัจจัยเสี่ยง 2 กลุ่ม และให้การรักษาที่เหมาะสม เพื่อควบคุมความดันโลหิตให้ อยู่ในระดับปกติ และป้องกันการ
เกิดภาวะแทรกซ้อน
3.การป้องกันระดับตติยภูมิ เน้นการรักษาทันทีเมื่อได้รับ การวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงแม้จะไม่มีอาการและ รักษาอย่างต่อเนื่อง
-
1.ผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว ส่งผลให้มีภูมิคุ้มกันต่ำ
อวัยวะในร่างกายทำงานได้ลดลง
2.ผู้สูงอายยุที่ได้รับประทานยาทำให้ภูมิคุ้มกันลดลง
3.ผู้สูงอายุที่ได้รับการตรวจหรือการรักษาหลายอย่างอาจทำให้เกิดการติดเชื้อได้
4.ผู้สูงอายุที่ต้องได้เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลบ่อยๆ
ก่อให้เกิดการติดเชื้อในโรงพยาบาลได้และมักเป็นเชื้อดื้อยา
-
1.การทดสอบสภาพสมอง : Mini-Cog
-Three word Registratior ผู้ทดสอบบอกผู้ถูกทดสอบว่า "ให้ตั้งใจฟังดีๆ เดี๋ยวจะบอกคำ 3 คำ เมื่อพูดจบแล้วให้พูดตามและจำไว้ เดียวจะกลับมาถามซ้ำ"เดียวจะกลับมาถามซ้ำ" เช่น หลานสาว สวรรค์ ภูเขา
-Clock Drawing (2 คะแนน) ให้ผู้ถูกทดสอบวาดรูปนาฬิกาโดยใส่ตัวเลขและเข็มนาฬิกาที่เวลา 11.10 น
-Three Word Recall (3 คะแนน) ให้ผู้ถูกทดสอบบอกคำ 3 คำที่ให้จำเมื่อสักครู่ว่ามีอะไรบ้าง
เกณฑ์การประเมินคะแนนเต็ม 5 คะแนน ถ้าได้คะแนนรวม <3 คะแนน ถือว่ามีภาวะการรู้คิดบกพร่อง (cognitive impairment)
2.การทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย MMSE-Thai 2002
ใช้คัดกรองภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ สามารถใช้ได้ในผู้สูงอายุที่ไม่ได้เรียน หรือไม่รู้หนังสือ (อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ด้วย โดยไม่ต้องทำข้อ 4 ข้อ 9 และข้อ 10
เกณฑ์การประเมิน คะแนนน้อยกว่าจุดตัดแสดงว่ามีภาวะสมองเสื่อม
Dementia,Delirium สมองเสื่อมหรือความผิดปกติทาสติปัญญา
-
1.การประเมินการได้ยิน : Finger rub test ถูนิ้วโป้งกับนิ้วชี้หน้าหูผู้ถูกทดสอบเบาๆ (ห่างจากหู~1 นิ้ว)ทีละข้างทั้งหูขวาและหูซ้าย
เกณฑ์การประเมิน ถ้าตอบ "ไม่ได้ยิน" หูข้างใดข้างหนึ่ง ถือว่าหูข้างนั้นมีปัญหาการได้ยิน
2.การคัดกรองสุขภาวะทางตา
-สายตาระยะไกล : นับนิ้วในระยะ 3 เมตรได้ถูกต้องน้อยกว่า
3 ใน 4 ครั้ง (กรณีผู้สูงอายุใช้แว่นสายตามองระยะไกลอยู่แล้ว
ให้สวมแว่นขณะทำการทดสอบด้วย)
-สายตาระยะใกล้ : อ่านหนังสือพิมพ์หน้าหนึ่งในระยะ 1
(กรณีผู้สูงอายุใช้แว่นสายตามองระยะใกล้อยู่แล้ว ให้สวมแว่นขณะทำการทดสอบด้วย)
-ต้อกระจก : ปิดตาดูทีละข้างพบว่าตามัวคล้ายมีหมอกบัง
-ต้อหิน : ปีดตาดูทีละข้าง พบว่ามองเห็นชัดแต่ตรงกลางไม่เห็นรอบข้าง หรือมักเดินชนประตู สิ่งของบ่อยๆ
-จอตาเสื่อมเนื่องจากอายุ : ปิดตาดูที่ละข้าง พบว่ามองเห็นจุดดำกลางภาพ หรือเห็นภาพบิดเบี้ยวเกณฑ์
การประเมิน ถ้าตอบ "ใช่" ข้อใดข้อหนึ่ง แสดงว่า มีปัญหาการมองเห็นและส่งต่อบุคลากรทางการแพทย์เพื่อทำการประเมินแผ่นป้าย
Snellen Chart
-
1.ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
2.ออกกำลังกายแบบแอโรบิกสม่ำเสมอ อย่างน้อย
สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ20-30 นาที
เช่น เดิน แกว่งแขน โยคะ รำมวยจีน
3.รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เนื้อสัตว์ที่มีไขมันต่ำโปรตีนจากพืช เช่น ปลา อกไก่ เต้าหู้
4.รับประทานคาร์โบไฮเดรตจากพืชธัญพืช ถั่ว นมจืด
ไขมันต่ำเป็นประจำ และรับประทานอาหารที่มีกากใยสูง
5.หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำที่มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบอย่างมาก เช่น น้ำอัดลม น้ำหวาน น้ำผลไม้
6.หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่แปรรูป เช่น ไส้กรอกเบคอน อาหารหมักดอง
-
1.ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
2.หลีกเหลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีคอเรสเตอรอลและ
ไขมันสูง เช่น ปลาหมึก กุ้ม เนื้อหนังติดมัน
3.รับประทานอาหารที่มีโปรตีนจำพวกปลา และรับประทานสารอาหารที่มีโพแทสเซียมเน้นทานผัก ผลไม้ เช่น ฟักทอง บล็อกโครี ผักโขม มะเขือเทศ มะละกอ กล้วย มะม่วง ฝรั่ง
4.เลี่ยงการรับประทานอาหารทอด ปิ้ง ย่าง
ควรรับประทานอาหาร ต้ม นึง
5.ออกกำลังกายแบบแอโรบิกสม่ำเสมอ อย่างน้อย
สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ20-30 นาที
เช่น เดิน แกว่งแขน โยคะ รำมวยจีน
6.งดดื่มแอลกอฮอล์ งดสูบบุหรี่ งดดื่มชากาแฟ
หรือเครื่องดื่มที่ใส่คาเฟอีน
7.ควรพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย7-9 ชั่วโมงต่อวัน
-
-
-
-