Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Osteoporosis - Coggle Diagram
Osteoporosis
การพยาบาล
-
-
-
-
-
-
ให้รับประทานอาหารครบทั้ง 3 มื้อ โดยเฉพาะอาหารที่มีแคลเซียมและโปรตีนสูง เช่น นม เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ เป็นต้น
-
-
-
-
ระมัดระวังไม่ให้หกล้มเด็ดขาด เพราะอาจเกิดอันตรายร้ายแรงได้ โดยควรจัดทำบ้านให้ดีมีราวจับ ตรวจดูลานสายตาและการทรงตัวของผู้สูงอายุด้วย
การฟื้นฟู
พยายามหลีกเลี่ยงการที่ผู้ป่ายนอนติดเตียงเป็นเวลานานๆ เช่น ให้มีการนั่งหรือการเดิน เป็นระยะสลับกัน โดขมีระยะเวลานอบสั้นที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะการนอนติดเตียงจะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากมายหลาขประการ เช่น ข้อติด กล้ามเนื้อลีบ แผลกดทับ
สอนให้ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวที่ถูกต้องปลอดภัยขณะมีการเคลื่อนลำตัวหรือการดำเนินกิจวัตร ได้แก่ ท่าทาง การเคลื่อนข้าข การขก และการเดิน ซึ่งอาจต้องมีการใช้อุปกรณ์ช่วยทรงตัวขณะเคลื่อนไหว
-
-
แนะนำชนิดของการออกกำลังกายเพื่อให้มีการลงน้ำหนักตัว การออกกำลังกายต้านแรงเพื่อเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อและเพิ่มความแข็งแรงของกระดูก การออกกำลังการเพื่อเพิ่มความสามารถในการทรงตัวไม่ให้หกล้มง่าย
ขณะที่ผู้ป่วยกำลังมีกระดูกสันหลังหักฉียบพลัน หรือมีการปวดหลังเรื้อรังจากกระดูกสันหลังหักหลายข้อ ควรใช้อุปกรณ์ยึดลำตัว (runk orthoses) เช่น back brace, corset เพื่อลดอาการปวดด้วยการลดแรงกระทำต่อบริเวณ ที่กระดูกหัก และจัดการเรียงตัวของกระดูกสันหลัง
การวินิจฉัยโรคกระดูกพรุน
ปกติ (Normal) ความหนาแน่นกระดูกอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ -1 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเมื่อเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยมวลกระดูกสูงสุดในผู้หญิงวัยสาว (T-score 2 -1)
กระดูกบาง (Osteopenia) ความหนาแน่นกระดูกอยู่ในเกณฑ์ต่ำกว่า -1 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแต่มากกว่า -2.5 เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยมวลกระดูกสูงสุดในผู้หญิงวัยสาว (-2.5 > T-score - 1)
กระดูกพรุน (Osteoporosis) ความหนาแน่นกระดูกต่ำกว่าหรือเท่กับ -2.5 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเมื่อเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยมวลกระดูกสูงสุดในผู้หญิงวัยสาว (T-score s -2.5)
กระดูกพรุนระดับรุนแรง (Severe osteoporosis) ความหนาแน่นกระดูกต่ำกว่าหรือเท่กับ -2.5 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเมื่อเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยมวลกระดูกสูงสุดในผู้หญิงวัยสาว (T-score s -2.5) ร่วมกับมีกระดูกหักจากความเปราะบาง (fragility fracture)
การรักษา
รับประทานแคลเซียม และวิตามินดี รับประทานแคลเซียมควบคู่กับวิตามินดีอย่างเพียงพอ ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดกระดูกหัก และหากร่างกายได้แคลเซียมจากภายนอกไม่เพียงพอต่อความต้องการ ร่างกายจะมีการสลายกระดูก เพื่อคงระดับของแคลเซียมในเลือดไว้
ปริมาณแคลเซียมที่แนะนำสำหรับหญิงที่อายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป คือ 1200 มก./วัน (การรับประทานอาหารในแต่ละวัน จะได้รับแคลเซียมเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 600-700 มก./วัน) แต่อย่างไรก็ตามการที่ได้รับแคลเซียมในปริมาณที่มากกว่า 1200-1500 มก./วัน อาจจะไปเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดนิ่วที่ไต, โรคหลอดเลือดหัวใจ, หรือโรคหลอดเลือดสมองได้
ปริมาณวิตามินดีสำหรับผู้ที่อายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป คือ 800-1000 ยูนิต/วัน(9) Institute of medicine dietary reference intake แนะนำให้ 600 ยูนิต/วัน ไปจนถึงอายุ 70 ปี หลังจากนั้นเพิ่มเป็น 800 ยูนิต/วัน ในผู้ป่วยกระดูกพรุนแนะนำให้อยู่ในระดับ 30-50 ng/ml
ออกกำลังกาย
-
Weight-bearing exercise เป็นการออกกำลังกายที่ทั้งกระดูกและกล้ามเนื้อทำงานต้านแรงโน้มถ่วงของโลกขณะที่ขาและเท้าคอยรับน้ำหนักตัว เช่น การเดิน การวิ่ง การเต้น ไทเก๊ก การปีนเขา เป็นต้น
Muscle strengthening exercise เป็นการออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เช่น Weight training, โยคะ เป็นต้น
โปรตีน
รับประทานโปรตีนให้เพียงพอ (1-1.2 กรัม/กก./วัน) ร่วมกับออกกำลังกายเป็นประจำ เพื่อประโยชน์ต่อกระดูกและ กล้ามเนื้อ โดยแหล่งอาหารโปรตีนควรมาจากสัตว์และจากพืชในสัดส่วนที่เท่ากัน
การใช้ยา
-
-
ยากลุ่ม receptor activator of nuclear factor kappa-B (RANK) Ligand (RANKL)/RANKL Inhibitor ยากลุ่มนี้เป็น human monoclonal antibody ใช้รักษาโรคกระดูกพรุนในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดกระดูกหัก สามารถลดการเกิดกระดูกหักได้ทั้งที่กระดูกสันหลัง ข้อสะ โพก และที่ตำแหน่งอื่นๆ หลังจากใช้ยาไปสามปี ทั้งยังสามารถเพิ่มมวลกระดูกในชายที่มีความเสี่ยงสูงต่อกระดูกหัก ในหญิงที่มีมะเร็งเต้านมที่ได้ยา aromatasc inhibitors ในชายที่เป็นมะเร็งต่อมลูกหมากที่ได้รับ hormone-deprivation therapy ซึ่งมีความเสี่ยงสูงต่อกระดูกหัก
Strontium ranelate มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคกระดูกพรุนในหญิงวัยหลังหมดประจำเดือน สามารถลดอุบัติการณ์ของภาวะกระดูกหักได้ดีเหมือนที่พบจากการใช้ยาในกลุ่ม bisphosphonate โดยยานี้จะขับยั้งการสลายกระดูกและกระตุ้นการสร้างกระดูกด้วย ขนาดรับประทานคือ 2 กรัม วันละครั้ง ควรรับประทานก่อนนอน และหลังอาหารอย่างน้อย 2 ชั่วโมง เพราะอาหาร นมและผลิตภัณฑ์จากนมจะรบกวนการดูดซึมยาได้ ไม่ควรใช้ขานี้ในผู้ที่มีภาวะไตวายรุนแรง ผลไม่พึงประสงค์จากยาได้แก่ คลื่นนไส้ ท้องเสีย แต่จะหายไปได้เองหลังได้ยาในเดือนที่ 3 และภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำ (venous thromboembolism)
สาเหตุ
ปัจจัยที่ไม่สามารถเลี่ยงได้ ได้แก่ อายุ, เชื้อชาติ (เอเชีย, ผิวขาว), รูปร่างเล็ก, หมดประจำเดือนเร็ว, มีประวัติกระดูกหักก่อนวัยอันควร, มีประวัติคนในครอบครัวเป็นกระดูกพรุน
ปัจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนได้ ได้แก่ การรับแคลเซียม/วิตามินดีไม่เพียงพอ, น้ำหนักน้อย, สูบบุหรี่, ดื่มสุรา, วิถีชีวิตแบบนั่งนอนมาก
Associated medical conditions เช่น chronic anovulation, hyperparathyroidism, hyperthyroidism, chronic renal disease, rheumatoid arthritis, โรคหรือภาวะใดๆ ก็ตามที่ จำเป็นต้องรับประทานคอร์ติโคสเตียรอยด์
-
ความหมาย
National Institute of Health นิยามไว้ว่าโรคกระดูกพรุน คือ โรคที่มีความแข็งแกร่งของกระดูก (bone strength) ลดลง ส่งผลให้มีความเสี่ยงต่อกระดูกหักสูงขึ้น ความแข็งแกร่งของกระดูกประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ ความหนาแน่นของกระดูก (bone density) และคุณภาพของกระดูก (bone quality)
องค์การอนามัยโลก ให้คำนิยามไว้ว่า "เป็นโรคกระดูกที่เกิดขึ้นทั่วร่างกาย (systemic skeletal disease) ซึ่งมีมวลกระดูกต่ำ (low bone mass) ร่วมกับการเสื่อมของโครงสารระดับจุลภาพของกระดูก (micro architecture deterioration) ส่งผลให้กระดูกมีความเปราะบางและหักง่าย" และได้กำหนดเกณฑ์ในการวินิจฉัยโดยอาศัยการตรวจความหนาแน่นของกระดูกโดยให้การวินิจฉัยโรคกระดูกพรุนเมื่อมีความหนาแน่นของกระดูกต่ำกว่า -2.5
-