Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
องค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคม
ความสัมพันธ์ทางสังคม
ค่านิยม
ความเชื่อ
อัตลักษณ์
ระบบความรู้
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สภาพแวดล้อม ธรรมชาติ และประชากร
การพัฒนาเศรษฐกิจ
ทัศนคติ/ความเชื่อของคนในสังคม
การเคลื่อนไหวทางสังคม
กระบวนการทางวัฒนธรรม
การประดิษฐ์ คิดค้นสิ่งใหม่ๆ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน 3 ด้าน
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคม
ด้านวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลง (Change) คือ การทาให้สิ่งต่างๆ เปลี่ยนไปจากที่เป็นอยู่เดิม ไม่เจาะจงว่าเป็นแบบวิธีใด ไม่เจาะจงทิศทาง หรืออัตราความเร็ว เช่น การแลกเปลี่ยนเงิน, สังคมเปลี่ยน, ลมเปลี่ยนทาง, การเปลี่ยนเกียร์รถ (วรทัศน์, 2548)
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change) หมายถึง การที่ระบบสังคม กระบวนการแบบอย่างหรือรูปแบบทางสังคม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี ระบบครอบครัว ระบบการปกครองได้เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นด้านใดก็ตาม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมนี้อาจจะเป็นไปในทางก้าวหน้าหรือถดถอย เป็นไปได้อย่างถาวรหรือชั่วคราว โดยการวางแผนให้เป็นไปหรือเป็นไปเอง และที่เป็นประโยชน์หรือให้โทษก็ได้ทั้งสิ้น (ราชบัณฑิตยสถาน, 2524)
รูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงแบบเส้นตรง เป็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคม จากสังคมที่มีความเจริญอารยธรรมขั้นต่าไปสู่สังคมที่มีความเจริญของอารยธรรมระดับสูงขึ้นต่อไป
การเปลี่ยนแปลงแบบวัฏจักร เป็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ไม่มีความสม่าเสมอ ค่อยๆ เจริญก้าวหน้าไปเรื่อยๆ จนถึงที่สุดก็จะเสื่อมสลายไป
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolutionary Theory) เป็นแนวความคิดที่ได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีวิวัฒนาการทางชีววิทยาของชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin)
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory) เป็นแนวความคิดที่มีข้อสมมุติฐานที่ว่า พฤติกรรมของสังคมสามารถเข้าใจได้จากความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่างๆ และบุคคลต่างๆ เพราะการแข่งขันในการเป็นเจ้าของทรัพยากรที่มีค่าและหายาก
ทฤษฎีโครงสร้าง – หน้าที่ (Structural – functional Theory)
แนวความคิดในการพัฒนาทฤษฎีโครงสร้าง – หน้าที่ เป็นผลมาจากการนาเอาแนวความคิดทางด้านชีววิทยามาใช้ โดยอุปมาว่า โครงสร้างของสังคมเป็นเสมือนร่างกายที่ประกอบไปด้วยเซลล์ต่างๆ และมองว่า หน้าที่ของสังคมก็คือ การทาหน้าที่ของอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยแต่ละส่วนจะช่วยเหลือและเกื้อกูลซึ่งกันและกันเพื่อให้ระบบทั้งระบบมีชีวิตดารงอยู่ได้