Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลักษณะของครูที่ดี - Coggle Diagram
ลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีตามพระราชดำรัส
สังวร ตรงกับ ปลีกตัวปลีกใจจากความสบาย
สมาธิ ตรงกับ ตั้งใจมั่งคงและแน่วแน่
วัตตา ตรงกับ รักษาวินัย อยู่ในกฎระเบียบ
สัจจะ ตรงกับ ซื่อสัตย์ จริงใจ
ขันติ ตรงกับ หนักแน่น อดทน
เมตตา ตรงกับ เมตตา หวังดี
จาคะ ตรงกํบ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละ
อุเบกขา ตรงกับ วางใจเป็นกลางไม่อคติ
วิริยะ ตรงกับ ขยันหมั่นเพียร
ปัญญา ตรงกับ อบรมปัญญาให้เพิ่มพูน
คุณลักษณะของครูที่ดีในยุคโลกาภิวัตน์
เจนจัดฝึกฝนศิษย์
ดวงจิตใฝ่คุณธรรม
มีวิสัยทัศน์
งานเลิศล้ำด้วยจรรยา
สอนดี
มีศรัทธาความเป็นครู
รู้ดี
ดํารงอยู่ด้วย ศีล สมาธิ ปัญญา
คุณลักษณะของครูที่ดีตามทัศนะคติของบุคคลทั่วไป
มีความยุติธรรม มีจริยธรรมสูง
เอาใจใส่ดูแลศิษย์ พัฒนาตนเองอยู่เสมอ
อัธยาศัยดี อารมณ์ดี
พัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความสามรถในการทำงาน
ลักษณะท่าทางดี ความประพฤติดี
คุณลักษณะของครูที่ดีตามพระราชโชวาท
คุณสมบัติข้อสาม ความมีค่านิยมสูง
คุณสมบัติข้อห้า ความมีจิตวิญญาณ
คุณสมบัติข้อสอง การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
คุณสมบัติข้อหก มีวินัย
คูณสมบัติข้อแรก การแสดงความรู้ ความคิด ของตนให้ผู้อื่นได้ทราบอย่างชัดเจนด้วยความฉลาด
คุณลักษณะของครูต้นแบบ(คัดเลือก)
การครองตนของครู : การเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งด้านส่วนตัวและคร อบครัว
การประสานงานกับชุมชน : เป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับและศรัทธาจากชุมชน
การจัดการเรียนการสอนของครู
การจัดกระบวนการเรียนรู้
ส่งเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม
ผสมผสานสาระความรู้ต่างๆอย่างสมดุล
จัดให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง
จัดบรรยากาศสิ่่งแวดล้อมที่ปลุกเร้า จูงใจ และเสริมแรง
ครูและผู้เรียนเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการต่างๆ
ฝึกทักษะกระบวนการ คิดการจัดการ การเผชิญ และการแก้ปัญหา
ประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชน เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ
จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมตามความสนใจความถนัดของผู้เรียน
ความรู้และทักษะเตรียมเนื้อหาสาระและให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง
ตนเองและความสัมพันธ์กับสังคมรอบตัว
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ศาสนา ศิลปะ วัฒนะธรรม ภูมิปัญญาไทย และกีฬา
คณิตศาสตร์ ภาษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาไทย
การประกอบอาชีพและดํารงชีวิตอย่างมีความสุข
ครูถือว่าผู้เรียนสําคัญที่สุด
การวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา
คุณลักษณะของครผุที่ดีจากผลการวิจัย
มีดังนี้
เข้มงวดต่อนักเรียนเวลาสอน ขยัน อดทน มีความยุติธรรม
มีความสามารถในการสอน ขยันหาความรู้ เข้ากับสังคมได้ดี
พูดจาสุภาพ อ่อนโยน ชัดเจน สุขุมเยือกเย็น ใจดี แจ่มใส ร่าเริง
มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ เชื่อมั่นในตนเอง
แต่งกายสุภาพ มีความเป็นระเบีบย มีสุขภาพสมบูรณ์
เสียสละ ตรงต่อเวลา อารมณ์มั่งคง
เฉลียว บุรีภัคดี และคณะ ได้ลักษณะของครูที่ดีตามลำดับ ดังนี้
ความบกพร่องของครูชาย
แต่งกายไม่สุ๓าพ พูดจาไม่สุภาพ
ไม่รับผิดชอบการทำงาน
ประพฤติไม่เรียบร้อย มัวเมาอบายมุข
ความบกพร่องของครูหญิง
ประพฤติไม่เรียบร้อย ไม่รับผิดชอบการงาน
ชอบนินทา จู้จี้ขี้บ่น วางตัวไม่เหมาะสม คุยมากไป
แต่งกายไม่สุภาพ เจ้าอารมณ์
1 ประพฤติเรียบร้อย 2ความรู้ดี 3บุคลิกการแต่งกายดี 4 สอนดี 5 ตรงเวลา 6ยุติธรรม 7หาความรู้อยู่เสมอ 8ร่าเริงแจ่มใส 9ซื่อสัตย์ 10 เสียสละ
คุณลักษณะของครูแห่งชาติ (อ. สุรศักดิ์ หลาบมาลา)
บทบาทของครูแห่งชาติ
จัดทําจัดทําอุปกรณ์การเรียนการสอนคุณภาพสูง
เผยแพร่ผลงานวิจัยทางการศึกษาและวิธีสอนที่ดีที่สุดแก่เพื่อนครู
ให้คําแนะนําให้คําแนะนําแก่ครูอื่นในการจัดห้องเรียนและวิธีการสอน
ให้คําแนะนําสถานศึกษาเกี่ยวกับการฝึกอบรมครูประจําการ
เป็นครูพี่เลี้ยงแต่ครูบรรจุใหม่
มีส่วนร่วมในการประเมินการปฏิบัติงานของครูอื่น
ช่วยเหลือครูผู้ซึ่งประสบความยุ่งยากในการสอน
ช่วยเหลือครูในสถานที่ต่างๆซึงได้รับคําสั่งให้ไปปฎิบัติ
ให้การฝึกอบรมนักศึกษาครู
ทําการผลิตสื่อและเอกสารต่างๆ ที่มีคุณภาพสูงบันทึกเสียงวิดิทัศน์ สาธิตการสอนเพื่อแจกจ่ายแก่ครูในโรงเรียน
คุณสมบัติตามมาตรฐานสําหรับคนของชาติ(ผู้สมัคร)
มีความสามารถในการวางแผนอย่างดี
มีความสามารถเป็นเลิศในการสอน การจัดการนักเรียน และการรักษาวินัยในห้องเรียน
มีความเป็นเลิศในวิชาที่สอน
มีความเป็นเลิศในการประเมิน
มีผลงานเป็นเลิศ
มีความเป็นเลิศในการให้คําแนะนํา และสนับสนุนเพื่อนครู
คุณลักษณะของครูที่ดีตามหลักคำสอนในพระพุทธศาสนา
กัลยาณมิตตธรรม
วัตตา-มีระเบียบแบบแผน
เป็นบุคคลที่เคารพระเบียบกฎเกณฑ์ มีระเบียบแบบแผนและคอยอบรมตักเตือนศิษย์เป็นผู้มีระเบียบแบบแผน
ภาวนิโย-น่าเจริญใจ/น่ายกย่อง
บุคคลที่เป็นครูนั้นจะต้องกระทำตนให้เป็นที่น่าเจริญใจหรือน่ายกย่องของศิษย์และบุคคลทั่วไป
วจนักขโม - อดทนต่อถ้อยคํา
เป็นผู้ที่มีความอดทนต่อคําพูดของศิษย์ที่มากระทบกับความรู้สึก
ครุ-น่าเคารพ
มีบุคคลลักษณะประดุจดังผู้ทรงศีล
คัมภีรัญจะ กถัง กัตตา - แถลงเรื่องได้อย่างลึกล้ำ
มีความสามารถในการสอน มีความสามารถในการใช้คําพูดอธิบายเรื่องรางต่างๆให้ศิษย์ฟังได้อย่างเเจ่มเเจ้ง
ปิโย-น่ารัก
หากศิษย์คนใดกระทำไม่ถูกต้อง ครูจะต้องตักเตือน ชี้นำ ห้ามปรามไม่ให้ศิษย์กระทำผิด
โน จัฏฐาเน นิโยชเย - ไม่ชักนําศิษย์ไปในทางที่เสื่่อม
จะต้องไม่ชักนําศิษย์ไปในทางที่ไม่ดี เเละครูก็อย่างปฏิบัติไม่ดีด้วย