Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คุณลักษณะของครูที่ดี - Coggle Diagram
คุณลักษณะของครูที่ดี
ตามพระราชดำรัส
ปลีกตัวปลีกใจจากความสะดวกสบาย ตรงกับหลักธรรม "สังวร"
ตั้งใจให้มั่นคงและแน่วแน่ ตรงกับหลักธรรม "สมาธิ"
รักษาวินัย อยู่ในระเบียบแบบแผน ตรงกับหลักธรรม "วัตตา" หรือ "วินโย"
ซื่อสัตย์รักษาความจริงใจ ตรงกับหลักธรรม "สัจจะ"
หนักแน่น อดกลั้นอดทน ตรงกับหลักธรรม "ขันติ"
เมตตาหวังดี ตรงกับหลักธรรม "เมตตา"
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ ตรงกับหลักธรรม "จาคะ"
วางใจเป็นกลางไม่ปล่อยไปตามอำนาจอคติ ตรงกับหลักธรรม "อุเบกขา"
หมั่นขยันและอุตสาหะพากเพียร ตรงกับหลักธรรม "วิริยะ"
อบรมปัญญาให้เพิ่มพูนสมบูรณืขึ้น ตรงกับหลักธรรม "ปัญญา"
จากผลการวิจัย
เสียสละ
ตรงต่อเวลา
เข้ากับสังคมได้ดี
ความประพฤติเรียบร้อย
มีความยุติธรรม
มีความรู้และขยันหมั่นศึกษาหาความรู้
แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
มีความเชื่อมั่นในตนเองสูง
คุณลักษณะของครูที่ดีในยุคโลกาภิวัตน์
เจนจัดฝึกฝนศิษย์
ดวงจิตใฝ่คุณธรรม
มีวืสัยทัศน์
งามล้ำเลิศด้วยจรรยา
มีศรัทธาความเป็นครู
สอนดี
ดำรงอยู่ด้วย ศีล สมาธิ ปัญญา
รู้ดี
ตามทัศนะบุคคลทั่วไป
มีความยุติธรรม
มีจริยธรรมสูง
มีอัธยาศัยดี
มีความสามารถในการสอน
มีความประพฤติดี
สติปัญญาดี
มีลักษณะท่าทางดี
ไม่มัวเมาในอบายมุขทั้งปวง
คุณลักษณะของครูต้นแบบ
การจัดการเรียนการสอนของครู ตามพระราชบัญญัติการศึกษา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
ความรู้และทักษะ
ครูถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุด
การประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
การวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
การครองตนของครู
การประสานงานกับชุมชน
คุณลักษณะของครูแห่งชาติ
คุณสมบัติตามมาตรฐานสำหรับครูแห่งชาติ
มีความสามารถในการวางแผนอย่างดี
มีความสามารถเป็นเลิศในการสอน การจัดการนักเรียน และการรักษาวินัยในห้องเรียน
มีความเป็นเลิศในวิชาที่สอนหรือมีความรู้ในสาขาวิชาพิเศษ
มีความเป็นเลิศในการประเมิน
มีผลงานเป็นเลิศ
มีความเป็นเลิศในการให้คำแนะนำและสนับสนุนเพื่อนครู
บทบาทของครูแห่งชาติ
ให้การฝึกอบรมนักศึกษาครู
จัดทำอุปกรณ์การเรียนการสอนคุณภาพสูง
ช่วยเหลือครูผู้ซึ่งประสบความยุ่งยากในการสอน
เป็นครูพี่เลี้ยงแก่ครูบรรจุใหม่
ตามหลักคำสอนในพระพุทธศาสนา
กัลยาณมิตตธรรม
วัตตา-มีระเบียบแบบแผน ครูต้องกระทำตนให้เป็นบุคคลที่เคารพระเบียบกฎเกณฑ์ มีระเบียบแบบแผน
วจนักขโม-อดทนต่อถ้อยคำ ครูต้องเป็นผู้มีความอดทนต่อคำพูดของศิษย์ที่มากระทบความรู้สึก
ภาวนีโย-น่าเจริญใจหรือน่ายกย่อง ครูต้องกระทำตนให้เป็นที่น่าเจริญใจน่ายกย่องของศิษย์และบุคคลทั่วไป
คัมภีรัญจะ กถัง กัตตา-แถลงเรื่องได้อย่างลึกล้ำ ครูต้องมีความสามารถในการสอน ในการใช้คำพูด อธิบายเรื่องราวต่างๆให้ศิษย์ฟังได้อย่างแจ่มแจ้ง
ครุ-น่าเคารพ ครูต้องเป็นผู้ที่ประพฤติตนเหมาะสมแก่ฐานะความเป็นครู
โน จัฏฐาเน นิโยชเย-ไม่ชักนำศิษย์ไปในทางเสื่อม ครูต้องไม่ชักนำศิษย์ไปในที่ต่ำทรามใดๆ
ปิโย-น่ารัก ครูจะต้องเป็นผู้ที่น่ารัก ศิษย์พบเห็นแล้วอยากเข้าไปปรึกษา สบายใจเมื่อได้พบปะ
ตามพระราโชวาท
พระราโชวาทของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฏราชกุมารี (ร.10)
มีวินัย
ถือวินัยเพื่อเสริมสร้างคุณภาพให้ตัวเราเอง
ถือวินัยเพื่อสร้างความพร้อมเพรียงสมัครสมาน
ถือวินัยเพื่อความเป็นปึกแผ่นมั่นคงและความก้าวหน้าของหมู่คณะ
ไม่ถือวินัยอย่างผิดๆเพื่อหลอกตัวเอง
ไม่นำเอาวินัยเป็นเครื่่องมือเบียดเบียนบังคับผู้อื่น
ความมีวิจารณญาณ
การไม่หวั่นไหวไปตามอารมณ์และอคติต่างๆ
การไม่ฟุ้งซ่าน ไม่คิดสับสนถึงเรื่องต่างๆ
การควบคุมจิตใจให้เป็นปกติและหนักแน่น
ความมีค่านิยมสูง
การประหยัดอดออม
การมีระเบียบวินัยแบบแผน
การรักษาศีลห้าอย่างเคร่งครัด
การเคารพเทิดทูนพระมหากษัตริย์
การปฏิบัตตืตามจรรยาวิชาชีพครูอย่างเคร่งครัด
ความสามารถในการแสดงความรู้ความคิดของตนให้ผู้อื่นทราบได้อย่างแจ่มแจ้งด้วยความฉลาด
การรู้จักจับประเด็นของเรื่องที่จะพูดให้ได้
การสื่อความหมายให้ถูกต้อง
การคิดอย่างมีระเบียบแบบแผน
การพูดได้รวบรัดชัดเจน
การฝึกฝนอบรม
การฝึกหัดให้เป็นนิสัย
ความมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
ฝึกทำใจให้กว้างเป็นกลาง
ซื่อสัตย์
สุภาพอ่อนโยนและจริงใจ
เมตตาเอ็นดูต่อผู้น้อย
มีกิริยาท่าทางที่เหมาะสม