Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทยวัย 73 ปี DX : Pneumonia with Respiratory faillure U/D : - …
ผู้ป่วยหญิงไทยวัย 73 ปี DX : Pneumonia with Respiratory faillure
U/D : -
Pneumonia
ความหมาย
ทฤษฎี
ปอดบวมหรือปอดอักเสบเป็นกระบวนการอักเสบของถุงลมปอดทำให้เนื้อปอด แข็ง และมีหนองอุด
ในถึงลมปอดมักในคนที่ไม่เเข็งแรง เช่น
เด็กสำลักน้ำเข้าปอด
ทอนซินอักเสบ
เด็กคลอดก่อนกำหนด
ผู้สูงอายุ
หัด อีสุกอีกใส ไอกรน
ผู้ที่ฉีดสารเสพติดเข้าตัวเอง
ผู้ที่สำลักอาหารเข้าไปในปอด
พยาธิสภาพ
ระยะบวมคั่ง(Stage of congestion or edema )
เมื่อชื้อโรคเข้าสู่ปอดจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็วร่างกายจะมีปฏิกิริยาตอบสนองมีเลือดมาคั่งบริเวณที่มีการอักเสบหลอดเลือดขยายตัวมีแบคทีเรีย เม็ดเลือดแดง ไฟบรินและเม็ดเลือดขาว ออกมากินแบคทีเรีย ระยะนี้กินเวลา 24-46 ชั่วโมงหลังจากเชื้อ
โรคเข้าสู่ปอด
ระยะเนื้อปอดแข็ง(Stage of consolidation )
ระยะแรกจะพบว่ามีเม็ดเลือดแดงและไฟบรินอยู่ในถุงลมเป็นส่วน ใหญ่ หลอดเลือดที่ผนังถุงลมปอดขยายตัวมากขึ้นทำให้เนื้อปอดสีแดงจัดคล้ายตับสด ( Red heptization) ในรายที่มีการอักเสบรุนแรงจะมีการอักเสบลุกลามไปถึงเนื้อปอดด้วย ในเวลาต่อมาจะมีจำนวนเม็ดเลือดขาวเข้ามาแทนเม็ดเลือดแดงในถุงลมมากขึ้นเพื่อกินเชื้อโรค ระยะนี้ถ้า
ตัดเนื้อปอดมาดูจะเป็นสีเทาปนดำ ( gray heptization) เนื่องจากมีหนอง ( Exudate)
เซลล์โพลีมอร์ไฟและไฟบรินหลอดเลือดที่ผนังถุงลมปอดก็จะหดตัวเล็กลงระยะนี้กินเวลา3-5 วัน
ระยะปอดฟื้นตัว ( Stage of resolution)
มื่อร่างกายสามารถต้านทานโรคไว้ได้เม็ดเลือดขางสามารทำลายแบคทีเรียที่อยู่ในถุงลมปอดได้หมดจะมีเอนไซม์ออกมาละลายไฟบริน เม็ดเลือดขาวและหนอง ก็จะถูกขับออกมาเป็นสมหะมีลักษณะเป็นสีสนิมเหล็ก เพราะมีเลือดค้างอยู่เนื้อปอดมักกลับคืนสู่สภาพปกติได้
การสอักเสบที่เยื่อหุ้มปอดหายไปหรือพังผืดขึ้นแทนระยะฟื้นตัวในคนหนุ่มสาวและเด็กเร็วมาก
แต่ในคนสูงอายุจะช้า ระยะฟื้นตัวในประมาณ 5 วันใหญ่ 2สัปดาห์แต่ไม่ควรเกิน 6
สัปดาห์ ถ้าเกินต้องนึกถึงการมีโรคอื่น ๆ เป็นพื้นฐานเดิม ช่น มะเร็งปอดหรือหลอดลม
เป็นต้น
สาเหตุ
ทฤษฎี
สาเหตุหลัก เกิดจากมีเชื้อโรคหรือสารเคมีเข้าไปทำให้มีการอักเสบของปอด เช่น เชื้อแบคทีเรีย
ที่พบบ่อย คือ เชื้อปอดบวมหรือนิวโมค็อกคัส(Pneumococcus) เชื้อไวรัส เช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส
เป็นต้น และสำหรับสารเคมีที่พบบ่อย คือ น้ำมันก๊าก ซึ่งผู้ป่วยสำลักเข้าไปในปอด
สาเหตุส่งเสริม เป็นภาวะหรือโรคทำให้เกิดการอักเสบของปอดเกิดเร็วขึ้น โดยผู้ป่วยอาจมีสาเหตุ
หลักอยู่เดิมหรือไม่มีก็ได้สาเหตุส่งเสริมนี้ทำให้การทำงานของปอดมีประสิทธิภาพลดลง ทำให้เชื้อโรคเข้าสู่ปอด
ได้ง่ายขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ปัจจัย ดังนี้
2.1 ปัจจัยภายใน ที่มาจากด้านร่างกายส่งเสริมให้เกิดการติดเชื้อในปอด ได้แก่
1.1 ผู้ป่วยเป็นโรคปอดมาก่อน เช่น ปอดแฟบ หลอดลมอักเสบเรื้อรัง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผ่าตัดช่องอก เจาะคอ สูบบุหรี่ เป็นไข้หวัดใหญ่ ส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำงานของขนกวัด Gl1a) ลดลงเป็นต้น
2.1.2 ภูมิต้านทานต่ำ ผู้ป่วยที่เป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ป่วยที่ได้รับยากดการสร้างอิมมูน หรือการสร้างอิมมูนผิดปกติ เช่น ผู้ป่วยโรคเลือด เป็นต้น ผู้ป่วยที่ได้รับยาฆ่าเซลล์มะเร็ง หรือสเตียรอยด์ ผู้ป่วยที่ขาดอาหาร ซึ่งเป็นตัวสำคัญในการสร้างอิ่มมูน เช่น Multiple myeloma" เป็นต้น
2.1.3 การเคลื่อนไหวร่างกายลดลง: เช่น ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว นอนนานๆ อยู่บนเตียง ผู้ป่วย อัมพาต เป็นต้น การทำหน้าที่ของขนกวัดในทางเดินหายใจเสียไป ทำให้มีเสมหะคั่งในปอด
1.4 การกลืนลำบาก เช่น ผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องการกลืน ทำให้สำลักเอาสิ่งแปลกปลอมลง
ไปในปอดได้ง่าย เช่น โรคของหลอดอาหาร (Nasopharynx) โรค Myasthenia gravis เป็นต้น
2.1.5 ผู้ป่วยที่ได้รับการใส่ท่อทางเดินหายใจ ผู้ป่วยที่เจาะคอ และผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ทำให้เกิดสำลักได้ง่าย'
2.2 ปัจจัยภายนอก ที่มาจากสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การติดเชื้อ เช่นโรควัณโรคปอด ไข้หวัด
ยาสลบหรือยาพ่นในลำคอ ทำให้สำลักเข้าสู่ปอดได้ง่าย
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวร่างกายลดลง เนื่องจากBedridden 5 ปี ผู้ป่วยมีปัญหาเรื่องการกลืนทำให้สำลักอาหารลงไปในปอดได้ง่าย
พร่องกิจวัตประจำวันเนื่องจากช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
ข้อมูลสนับสนุน
S: ขยับขาแล้วรู้สึกเจ็บ
O: Bedridden 5 ปี ADL 2 คะแนน
O: motor power แขนทั้งสองข้าง grade 4 ขาทั้งสองข้าง grade 2
จุดมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้ป่วยปฏิบัติกิจวัตประจำวันได้มากขึ้น
เกณฑ์
ผู้ป่วยสุขสบายมีสีหน้ายิ้มแย้ม ร่างกายสะอาด ไม่มีกลิ่นหรืองสิ่งสกปรก
2.ADL > 2 คะแนน
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลช่วยเหลือกิจวัตประจำวันได้แก่ จัดสิ่งแวดล้อม ดูแลความสะอาดร้างกายให้ผู้ป่วย
2.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหาร BD 1:1 250 ml q 8 hr. ตามแผนการรักษาเพื่อให้ได้รับสารอาหารที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
3.ดูแลเรื่องการขับถ่าย ทำความสะอาดหลังการขับถ่ายและเปลี่ยนแพมเพิสเพื่อความสุขสบายของผู้ป่วย ป้องกันการติดเชื้อ
4.ดูแลพลิกตะแคงตัวทุก 2 hr.
5.ดูแลให้ผู้ป่วยหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอเพื่อให้ร่างกายฟื้นฟูและทำกิจวัตประจำวันได้ปกติ
6.ประเมินการปฏิบัติกิจวัตประจำวัน ADL เพื่อประเมินความสามารถในการทำกิจวัตประจำวันของผู้ป่วย
อาการ
ทฤษฎี
ผู้ป่วยโรคปอดอักเสบ อาจมีอาการเล็กน้อยจนถึงรุนแรงมาก ทั้งนี้ขึ้นกับความรุนแรงของการติดเชื้อ นอกจากนี้อาการจะมีความรุนแรงมากขึ้นในผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวร่วมด้วย เช่น โรคหอบหืด เบาหวานภูมิต้านทานต่ำ เช่น ติดเชื้อ HIV เป็นต้น อาการของโรคปอดอักเสบโดยทั่วไป มีดังนี้
มีไข้สูงประมาณ 39-40 องศาเซลเซียสอาจมีอาการเหงื่อออก
หนาวสั่น
2)มีอาการไอ อาจพบเสมหะร่วมด้วย ร่วมกับมีอาการหายใจลำบาก เนื่องจากมีน้ำจาก Pulmonary capillary เข้าไปในถุงลม (Alveoli)
3 หายใจเร็วถี่ๆ (Shortness of breath) หายใจเร็วตื้น หายใจลำบาก แน่นอึดอัดหายใจไม่อิ่ม หอบ เหนื่อยเมื่อต้องออกแรงหรือทำกิจกรรม
ผิวหนังชีด อาการเขียวคล้ำ พบได้บ่อยบริเวณปลายมือ ปลายเท้า บางรายอาจดูผิวหนังได้ยาก ในรายที่มีสีผิวคล้ำ ซีด อาจดูที่ลิ้นหรือริมฝีปากด้านล่าง ซึ่งแสดงถึงภาวะพร่องออกซิเจน
มีอาการเจ็บหน้าอกขณะหายใจ (Pleuritic pain) เนื่องจาก Parietal pleura มีเส้นประสาทรับ ความรู้สึกเจ็บปวด เมื่อเกิดการอักเสบบริเวณ Parietal pleura หรือการกระตุ้นบริเวณกะบังลม ซึ่งเลี้ยงโดย Pherenic nerve ทำให้เกิดอาการเจ็บหน้าอก และมีอาการมากขึ้นเมื่อมีการไอ จาม หรือขยับตัว
ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากการอักเสบของปอด ประสิทธิภาพการทำงานลดลง ทำให้
ร่างกายต้องใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจเพิ่มขึ้น ทำให้การทำกิจกรรมต่างๆ ได้ลดลง
กรณีศึกษา
แรกรับที่ ER ผู้ป่วยมีอาการ ไอ หายใจเหนื่อยหอบ สัญญาณชีพ อุณหภูมิ 36.6 องศา อัตตราการหายใจ 24 ครั้งต่อนาที อัตตราการเต้นของหัวใจ 102 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิต 139/82 mmHg o2 saturation 100 % CXR :infiltration LAB CBC WBC.count 17940 cella/mm.3 Hi Neutrophils 97 % Hi Lymphocytes 2 % low Eosinophils 0 % low
มีโอกาสเกิดภาววะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าสลดลงจากปอดติดเชื้อ
ข้อมูลสนับสนุน
S: เจ็บหน้าอกเมื่อไอ
O: ผู้ป่วยอ่อนเพลีย อัตราการหายใจ 22 ครั้ง/นาที
O: ผลภาพถ่ายทางรังสีปอดพบ infiitration ปอดข้างขวา
จุดมุ่งหมาย ผู้ป่วยไม่มีภาวะพร่องออกซิเจน
เกณฑ์
1.ไม่มีภาวะพร่องออกซิเจน ได้แก่การหายใจไม่อิ่มหรือหายใจเป็นเสียงหวีด ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว ไอ รู้สึกสับสนหรือมึนงง เล็บ ริมฝีปากหรือผิวเป็นสีม่วงคล้ำ
2อัตราการหายไม่เกิน ๅ16-20 ครั้ง/นาที
3.ความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดมากกว่า 95%
4.ทางเดินหายใจโล่งไม่มีเสมหะ
5.ผลภาพถ่ายรังสีปอดปกติไม่มี infiltation
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลจัดท่านอนศรีษะสูง 30-45 องศาเพื่อให้กะบังลมหย่อน ปอดมีการขยายตัวเต็มที่ลม
สอนให้ผู้ป่วยหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ ฝึกควบคุมลมหายใจเข้า-ออก (Breathing control)
โดยสูดลมหายใจเข้าทางจมูก และเป่าออกทางปาก สลับกันช้าๆ• ฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม (Deep breathing exercise)วางมือตรงหน้าท้องและหน้าอก หายใจเข้าทางจมูกให้ท้องป่อง เป่าลมออกทางปากท้องยุบ
ทำ 5 ครั้งต่อรอบ วันละ 3-4 ครั้ง
สอนผู้ป่วยไออย่างมีประสิทธิภาพ หายใจเข้าลึก ๆ ทางจมูก กลั้นหายใจนับ 1 – 3. พ่นลมหายใจออกทางปากอย่างเร็วและแรง
4ดูแลให้ได้รับยา Ceftriaxone 2 g IV q 12 hr. และติดตามผลข้างเคียงได้แก่ เกิดผื่นบริเวณผิวหนัง คลื่นไส้อาเจียน
5.ดูแลช่วยเหลือกิจวัตร จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด เพื่อส่งเสริมการพักผ่อนเพื่อลดการให้ออกซิเจน
6.ประเมินและบันทึกสัญญานชีพ วัดระดับ O2 saturation ทุก 4 ชม.เพื่อประเมินระดับความรู้สึกตัวและติดตามภาวะพร่องออกซิเจน
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ได้แก่การหายใจไม่อิ่มหรือหายใจเป็นเสียงหวีด ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว ไอ รู้สึกสับสนหรือมึนงง เล็บ ริมฝีปากหรือผิวเป็นสีม่วงคล้ำ
มีโอกาสกลับมาเป็นซ้ำเนื่องจากพร่องความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้ป่วยถามถึงโรคที่เป็นอยู่
O: แพทย์มีแผนจัดจำหน่ายกลับบ้าน
o: ผู้ป่วยถามถึงการดูแลตนเอง
จุดมุ่งหมาย เพื่อให้ผู็ป่วยสามารถปฏิบัติตัวหลังกลับบ้านได้ถูกต้องและไม่กลับมาเป็นซ้ำ
เกณฑ์
1.ผู้ป่วยสามารถอธิบายสาเหตุและอาการของการเกิดโรคได้ 6 ใน 10 ข้อ
2.ไม่กลับมารักตัวที่โรงพยาบาลภายใน 3 เดือน
การพยาบาล
1.D-Dignosis ให้คำแนะนำผู้ป่วยเรื่องปอดอักเสบเชื้อโรคหรือสารเคมีเข้าไปทำให้มีการอักเสบของปอด โดยมีอาการไอ พบเสมหะ หายใจเร็วถี่ หายใจเร็วตื้น หายใจลำบาก แน่นอึดอัดหายใจไม่อื่ม
2.M-Medicine ยา Omepazole 20 mg ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร ผลข้างเคียงปวดศีรษะคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
Clidamycin 200 mg ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ผลข้างเคียคลื่นไส้อาเจียน เจ็บคอ
cefixtme 100 mg ยาฆ่าเชื้อแบคที่เรีย ผลข้างเคียงบมแดงทั่งร่างกายคลื่นไส้อาเจียน
3.E-Environnent การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาสมกับภาวะสุขภาพของผู้ป่วยจัดสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้สะอาดอยู่เสมอ เพื่อลดการเกิดโรคที่เข้าสู่่ร่างกาย
4.T-Treatent การปฏิบัติตามแผนการรักษาที่จำเป็นให้ความรู้ในการสังเกตอาการหายใจที่ผิดปกติ เช่น หายใจเร็ว เหนื่อยหอบ ใช้กล้ามเนื้อหน้าอกช่วยหายใจให้รีบมาพบแพทน์ การดูแลเมื่อไอจามหรือมีน้ำมูก ควรพิจารณาใส่ผ้าปิดจมูกการดูแลการรับประทานอาหาร การพักผ่อนนอนหลับ
5.H-Health หลีกเลี่ยงบุคคลที่สูบบุหรี่ ควันไฟควัญจากท่อไอเสียรถ หรืออาหการหนาวเย็นเกินไป แนะนำล้างมือทุกครั้งหลังสัมผัสสิ่งของที่อาจทำให้เกิดการติดเชื้อเพื่อป้องกันโรคปอดบวมจากไข้หวัดใหญ่ที่ระบาดตามฤดูกาล
6.O-Out patient แนะนำมาตรวจตามนัดและหากมีอาการผิดปกติ เช่นหายใจเหนื่อยหอบมากขึ้น ไอจาม มีน้ำมูกหรือเสมหะเหนียวให้ไปสถานพยาบาลใกล้บ้าน หรือขอความช่วยเหลือโท 1669
7.D-Diet การเลือกรับประทานอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย นอนหลับพักผ่อนครบ 8 ชั่วโมง
การรักษา
ทฤษฎี
1.ยาที่รักษาโรคปอดอักเสบ
ผู้ป่วยโรคปอดอักเสบจำเป็นต้องรักษาการติดเชื้อ โดยยาปฏิชีวนะ(Anitbiotic)ที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อทำลายเชื้อที่เป็นสาเหตุนอกจากนี้ยังต้องรักษาตามอาการ เช่น มิไข้ ไอ มีเสมหะเป็นต้นอาจพิจารณาให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมเชื้อ ยาลดไข้ในระหว่างการรอผลตรวจทางห้องปฏิบัติการแพทย์จะพิจารณาหยุด
ยาปฏิชีวนะเมื่อผลการเพาะเชื้อไม่พบเชื้อที่ทำให้เกิดและผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น
การรักษาด้วยออกซิเจน (Oxygen therapy)
การดูแลระบบทางเดินหายใจเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้ป่วยปอดอักเสบเนื่องจากผู้ป่วยมีการระบายอากาศและการแลกเปลี่ยนก๊ซไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากมี Exudates ในถุงลม ปอดแฟบจากการมีเสมหะในทางเดินหายใจ การรักษามีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันเกิดภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ(Hypoxemia) และภาวะ
หายใจล้มเหลว (Respiratory failure)
การรักษาแบบประคับประคอง (Supportive therapy)
ผู้ป่วยปอดอักเสบการรักษาเพื่อประคับประคองอาการ ได้แก่ การให้สารน้ำ สารอาหารอย่าเพื่อป้องกันการติดเชื้อ และรักษาสมดุลของร่างกายการควบคุมอุณหภูมิกายให้เป็นปกติ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีการติดเชื้อดื้อยาอย่างรุนแรง เช่น MRSA เป็นตันการแยกผู้ป่วยเป็นสิ่งสำคัญในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
กรณีศึกษา
-ได้รับออกซิเจนโดย on ETT no.7 M20 with bird's respirator try weet off ETT
-on O2 cannula
-Augmentin 1.2 mg IV
-ceftriaxone 2 mg
-clindamycin 900 mg
-0.9% NSS 1000ml IV 80cc/hr.
-BD (1:1)250 ml * 4 feed
ภาวะแทรกซ้อน
ทฤษฎี
น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pleural effusion) จากการอักเสบของเนื้อปอดที่ลามถึงเยื่อหุ้ม
2.นองในช่องเยื่อหุ้มปอด(Empyema) จากการติดเชื้อ เช่น Staphylococus และ
มีโอกาสที่เนื้อปอดถูกทำลายได้ง่าย
ปอดแฟบ (Lung atelectasis) จากการมีเสมหะอุดกั้นทางเดินหายใจ
การแพร่ของเชื้อเข้ากระแสเลือด กลายเป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เยื่อบุช่องท้องอักเสบ ข้ออักเสบเฉียบพลัน หรือเลือดเป็นพิษที่ร้ายแรง ภาวะหายใจลัมเหลวเฉียบพลัน(Respiratory failure)ซึ่งอาจทำให้เสียชีวิตได้รวดเร็ว มัก
จะพบในเด็กเล็กและผู้สูงอายุ
กรณีศึกษา
ผู้สูงอายุมีภาวะหายใจลัมเหลวเฉียบพลัน(Respiratory failure)
Respiratory failure
ความหมาย
ภาวะซึ่งระบบหายใจทำหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนกับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
พยาธิสภาพ
เมื่อร่างกายมีภาวะหายใจล้มเหลวจะมีความดันออกซิเจนในเลือดแดงต่ำ (Hypoxemia) หรือ Pa02ต่ำ ในระยะแรกและตามมาด้วยความดันคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดง
สูง (Hypercapnia) หรือ PaCO2สูง
Hypoxemia กระตุ้นชิมพาเทติก ทำให้มีชีพจรเร็วความดันเลือดสูง เหงื่อออก กระสับ กระส่ายอาจมีหัวใจเต้นผิดจังหวะ
กระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจ ทำให้มีอาการหายใจเร็วและลึก กล้ามเนื้อ
หายใจทำงานมากขึ้น ทำให้เหนื่อยง่ายลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายลดลง ทำให้ระดับความรู้สึกตัวลดลงมีอาการชัก หายใจผิดปกติและหยุดหายใจในที่สุด หัวใจบีบตัวลดลง หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันเลือดต่ำ
Hypercapnia กระตุ้นชิมพาเทติก ทำให้มีชีพจรเร็ว ความดันเลือดสูง ในระยะแรก
กระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจ ทำให้มีอาการหายใจเร็วและลึก
หลอดเลือดทั่วร่างกายขยายตัว ทำให้ความดันเลือดต่ำในระยะแรก
ผิวหนังแดงอุ่นและมีหลอดเลือดในสมองขยายตัวทำให้มีอาการปวด
ศีรษะกดการทำงานของสมอง ทำให้มีอาการสับสน ซึม ง่วงนอน หมดสติ และ กล้ามเนื้อกระตุก
กดการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจทำให้หัวใจบีบตัวน้อยลง และหัวใจเต้น
ผิดจังหวะ
สาเหตุ
ทฤษฎี
เกิดจากหลอดลมตีบตัน หอบหืด หลอดลมอักเสบรุนแรง เนื้อปอดถูกทำลาย เช่น ภาวะปอดอักเสบมาก ๆ มีน้ำหรือลมในช่องเยื่อหุ้มปอดมาก ๆ กล้ามเนื้อการหายใจเสียหน้าที่ เช่น โรคไขสันหลังอักเสบ (Poliomyelitis), Myasthenia gravis ศูนย์หายใจในเมดัลลาเสียหน้าที่ เช่น มีเลือดออกในสมอง ได้รับพิษจากยา มีภาวะพร่องออกซิเจน
กรณีศึกษา
มีภาวะปอดอักเสบร่วมกับภาวะพร่องออกซิเจน
อาการ
ทฤษฎี
หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ เขียว (Cyanosis) หากมี CO2 คั่งในเลือดมากผู้ป่วยจะมีอาการซึม หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออกตามตัว อาจหมดสติ
กรณีศึกษา
ไอถี่ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ อัตราการหายใจแรกรับ 30ครั้งต่อนาทีอัตราการเต้นของหัวใจ 130ครั้งต่อนาที ความดันโลหิต 186/98 mmHg O2 saturation 92% สัญญาณชีพ 9 มกราคม 2566 10.00 น. T36.8 c R 20 /min P 80/min BP 118/79 mmHg
มีโอกาสเกิดภาวะความดันโลหิตตกเนื่องจากติดเชื้อในกระแสเลือด
4 more items...
การรักษา
ทฤษฎี
รักษาตามสาเหตุ เช่น บรรเทาอาการติดตันของหลอดลมโดยให้ยาขยายหลอดลมเจาะน้ำในเยื่อหุ้มปอดออกหากมีน้ำมาก
รักษาปอดอักเสบโดยใช้ยาปฏิชีวนะที่ไวต่อเชื้อ ให้ออกซิเจนซึ่งปกติให้ในความเข้มข้น
สูง ยกเว้นในรายที่มีการอุดกั้นของหลอดลมเรื้อรังโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
และโรคถุงลมโป่งพองจะให้ออกซิเจนประมาณ 25-35 เปอร์เซ็นต์ เพื่อป้องกันการ
เกิด CO2 narcosis ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
กรณีศึกษา
-dexamethasone 4 mg
-berodual 1 NB q 4 hr.
-ได้รับออกซิเจนโดย on ETT no.7 M20
-on O2 cannula
ภาวะแทรกซ้อน
ทฤษฎี
ระบบการไหลเวียนเลือด: กล่าวคือ ผู้ป่วยจะมีความดันโลหิตต่ำ, มีหัวใจเต้นเร็ว , หัวใจเต้นผิดจังหวะ, อาจเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ระบบทางเดินอาหาร: เช่น ลำไส้หยุดการเคลื่อนไหว ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยปวดท้อง, ท้องอืด, อาเจียน ,ไม่ถ่ายอุจจาระ ,เกิดแผลในกระเพาะอาหาร, อาจมีเลือดออกในทางเดินอาหาร เป็นต้น
เกิดไตวายเฉียบพลัน ทำให้ระบบสมดุลของน้ำและเกลือแร่ และสมดุลของกรด-ด่าง(ความเป็นกรดด่าง)ในร่างกายเสียไป
เกิดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อในอวัยวะต่างๆ เช่น ปอดบวม, โรคติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ