Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 12 ระบบกระบวนการยุติธรรมไทย, **นิรุท ฉิมพิภพ …
หน่วยที่ 12
ระบบกระบวนการยุติธรรมไทย
กระบวนการยุติธรรมไทยในอดีต
กระบวนการยุติธรรมยุคปัจจุบัน(2540)
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ธรรมนูญศาลยุติธรรม
ใช้ระบบศาลคู่
ศาลยุติธรรม
ศาลชั้นต้น
ศาลอุทธรณ์
ศาลฎีกา
ศาลปกครอง
ศาลปกครองชั้นต้น
ศาลปกครองสูงสุด
บุคคลที่มีอำนาจฟ้องคดีอาญา คือ อัยการ และผู้เสียหาย
มีอำนาจฟ้องได้เมื่อสิทธิหรือหน้าที่ตาม กม แพ่งถูกโต้แย่ง
หน่วยงานอัยการเป็นหน่วยงานอิสระขึ้นต่อนายก สำนักอัยการสูงสุด 2534
การดำเนินคดีอาญาเป็นระบบกล่าวหา
กระบวนการยุติธรรมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น( ร1 ร4)
ยุคก่อนปฏิรูปกฎหมาย
ร 1 กฎหมายตราสามดวง(ตราราชสีห์ สมุหนายก
ตราคชสีห์ สมุหกลาโหม
ตราบัวแก้ว โกษาธิบดี
ห้าทคนบ้า ตาบอด ขอทาน เด็ก
กฎหมายโจรห้าร้อย ตราสมัย ร 3
กฎหมายห้ามซื้อฝิ่น ห้ามเลี้ยงไก่ ปลา นก ไว้ชน สมัย ร 2
มีศาลเรียกว่า ศาลตระลาการทำหน้าที่ชำระความมีลูกขุน ณศาลหลวงทำหน้าที่พิพากษา
การพิจารณาคดีในศาล เป็นระบบไต่สวน
ยุคปฏิรูประบบกฎหมาย สมัย ร 5
จัดทำประมวลกฎหมาย 2451 ประมวลกฎหมายลักษณะอาญา ร ศ127
ใช้ระบบศาลเดี่ยว เหมือนในอังกฤษ สหรัฐ
กระบวนการยุติธรรมสมัยอยุธยา(พระเจ้าอู่ทองหรือรามาธิบดีที่1
แต่งตั้งขุนนางตัดสินคดีแทนได้
การพิจารณาเป็นของลูกขุน ณ ศาลหลวง(ตระกูลพรามณ์)
ปกครองแบบจตุสดมถ์(เวียง วัง คลัง นา)
มี กม สารบัญญัติ และวิธีสบัญญัติ ใช้ คัมภีร์พระธรรมศาสตร์
กฎจารีตนครบาลเป็นวิธีการสัญนิฐานก่อนว่าจำเลยผิดใช้วิธีทรมานจนกว่าจำเลยสารภาพ
กระบวนการยุติธรรมสมัยสุโขทัย (1781-1893)
เมื่อราษฎร์มีข้อพิพาทกันสามารถไปสั่นดระดิ่งให้กษัตรย์มาสวบสวน
มีศูนย์กลางอำนาจอยู่ที่กรุงสุโขทัยและมีเมืองลูกหลวงและเมืองหน้าด้าน 4 เมือง
หลักสำคัญของกระบวนการยุติธรรมในศาล
มีวิธีพิจารณาและการรับฟังพยานมี่สะดวกและเป็นธรรม
ใช้วิธีกล่าวหา ให้คู่ความมีสิทธิเสมอกัน
การพิจารณาต้องทำโดยคณะและต้องครบองค์คณะ
ศาลชั้นต้น ต้องมีผู้พิพากษา 2 คน
ศาลอุทธรณ์,ศาลฎีกา ต้องมีผู้พิพากษา 3 คน
ศาลปกครองชั้นต้น ต้องมีตุลาการ 2 คน
ศาลปกครองสูงสุด ต้องมีตุลาการ 3 คน
ศาลรัฐธรรมนูญ ต้องมีตุลาการ 3 คน
หลักประกันความเป็นธรรมของผู้พิพากษา
ผู้พิพากษาต้องยึดหลัก อคติ 4 คือ
ฉันทคติ
โทสาคติ
โมหคติ
ภยาคติ
คำสั่งและคำพิพากษาต้องแสดงเหตุผลด้วย
ความยุติธรรมต้องมีราคาถูก พิจารณาคดีแบบต่อเนื่อง และกระจายตามท้องถิ่น
หลักประกันความเป็นอิสระของผู้พิพากษาและตุลาการ
มาตราการประกันความเป็นอิสระของผูพิพากษาจากองค์กรภายนอก
มีหน่วยธุรการของตนเองเป็อิสระ
แยกบุคคลที่ทำหน้าที่ผู้พิพากษาออกจากฝ่ายต่างๆ
ตุลาการศาลปกครองเกษียน 65 ปี
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ มีวาระ 9 ปี
มาตราการประกันความเป็นอิสระของผูพิพากษาจากองค์กรภายใน
การโยกย้ายผู้พิพากษา ต้องได้รับความยินยอมเท่านั้น
การจ่าย โอนคดีเป็นอำนาจของประธานศษลฏีกา หัวหน้าศาล อธิบดีเท่านั้น
การพิจารณาคดี ไม่อยู่ภายใต้บังคับบัญชาระดับชั้น เป็นอิสระ
รัฐธรรมนูญไทยแบ่งอำนาจอธิปไตย 3 อำนาจคือ
1 อำนาจนิติบัญญัติ รัฐสภา
2 อำนาจบริหาร คณะรัฐมนตรี
3อำนาจตุลาการ ศาล ( ศาลยุติธรรม,ศาลปกครอง,ศาลรัฐธรรมนูญ)
หลักการพิจารณาคดีโดยเปิดเผย
ศาลปกครอง การพิจารณาคดี การนั่งพิจารณาคดีให้ทำโดยเปิดเผย
ศาลแพ่ง การพิจารณาคดี การนั่งพิจารณาคดีต้องทำต่อหน้าคู่ความที่มาศาลโดยเปิดเผย
ศาลรัฐธรรมนูญ การพิจารณาคดี ให้ทำโดยเปิดเผย ให้คู่กรณีแสดงความเห็นหรือรับฟัง
ศาลอาญา การพิจารณาคดี และสืบพยานในศาลให้ทำต่อหน้าจำเลย
กระบวนการยุติธรรมอื่น
คณะกรรมการการเลือกตั้ง(กตต)
ทำหน้าที่วางระเบียบและควบคุมตรวจสอบดำเนินการเลือกตั้ง สส สว สท
มีประธาน 1 คน กรรมการ 4 คน กษัตริย์แต่งตั้งตามวุฒิสภา
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ(ปปช)
ทำหน้าที่ ตรวจสอบทรัพย์สินนักการเมือง การทุจริตคอรับชั่น
มีประธาน 1 คน กรรมการ 8 คน กษัตริย์แต่งตั้งตามวุฒิสภา
ศาลฏีกาแผนก คดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง มีอำนาจไต่สวนและถอดนายก
องค์กรวินิจฉัยของหน่วยราชการ
กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์
มีหน้าที่ พิจารณาเรื่องร้องทุกข์เจ้าหน้าที่รัฐ(กษัตร์ยแต่งตั้งตามคณะรัฐมนตรีและสภา)
คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
มีหน้าที่ พิจารณาร้องเรียนเรื่องการรับรู้ข้อมูลของหน่วยงานของรัฐ
กรรมการร่างกฎหมาย
มีหน้าที่ตรวจพิจารณาและจัดร่างกม ให้รัฐบาล(กษัตรย์แต่งตั้งตามคณะรัฐมนตรี)
**นิรุท ฉิมพิภพ
วิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
40101
หน่วย 12
**