Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนเเปลงทางสรีรวิทยาของมารดา - Coggle Diagram
การเปลี่ยนเเปลงทางสรีรวิทยาของมารดา
การคลอดปกติ (Normal labor)
ทฤษฎี
อายุครรภ์ครบกำหนด 38-42 สัปดาห์
มีศีรษะของทารกเป็นส่วนนำ โดยที่ occiput ของทารกในครรภ์อยู่ด้านหน้าของเชิงกรานมารดา
กระบวนการคลอดสิ้นสุดภายในเวลาไม่เกิน 18 ชั่วโมงหรือ 24 ชั่วโมง
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนตลอดการคลอด
กรณีศึกษา
มารดามีอายุครรภ์ 40+2 สัปดาห์
จากการตรวจครรภ์ท่าที่ 3 ทารกมี occiput เป็นส่วนนำ โดยทารกอยู่ในท่า LOA
กระบวนการคลอดสิ้นสุดโดยใช้เวลาทั้งหมด 20 ชั่วโมง
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนใด ๆ เกิดขึ้นในระยะคลอด เช่น การตกเลือดในระยะคลอด รกค้าง และมดลูกปลิ้น
องค์ประกอบของการคลอด
ทฤษฎี
1.Power ประกอบด้วย 2 แรง
-แรงจากการหดรัดตัวของมดลูก (Uterine contraction or primary power) เกิดจากการหดรัดตัวของมดลูกส่วนบนทำให้ส่วนล่างกว้างและบางขึ้น มีผลต่อการเปิดขยายของปากมดลูกและเคลื่อนต่ำ การก้มศีรษะของทารก การหมุน การลอกตัวของรก
-แรงเบ่ง (Bearing down effort or Secondary) เป็นแรงที่เกิดจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องและกะบังลม ทำให้ทารกเคลื่อนต่ำลงไปกดเชิงกราน ทวารหนัก ทำให้อยากเบ่งสำคัญต่อการก้มหมุนของศรีษะทารก
2.Passages
-ช่องทางคลอดส่วนกระดูก (Bonny passage or hard part) แข็ง ยึดได้น้อยช่องทางเข้าเชิงกราน (Pelvic inlet) รูปไข่นอนด้านหน้าเป็นขอบบนของ symphysis pubic ด้านบนเป็นด้านของ Linea terminalis ด้านล่างเป็น Promontory of sacrum ถ้าช่องนี้แคบศีรษะทารกผ่านไม่ได้ไม่เกิดการ Engagement
-ช่องเชิงกราน (Pelvic outlet) รูปไข่ตั้งด้านหลังติดขอบล่างของ symphysis pubic ด้านข้าง pelvic tuberosity ด้านหลังตรงปลาย coccyx เส้นผ่านศูนย์กลางแนว A-P diameter
ช่องทางคลอดอ่อน (Soft passage or soft part) ฝีเย็บ ช่องคลอด ปากมดลูก มดลูกส่วนล่าง
3.Passenger
ได้แก่ ทารก รก เยื่อหุ้มทารก น้ำคร่ำ สิ่งสำคัญที่สุด คือ ทารก เนื่องจากขนาด รูปร่าง และลักษณะของทารกต้องเหมาะสมกับทางคลอด
คือ ขนาดไม่ใหญ่จนเกินไป รูปร่างปกติ ไม่มีความพิการ ใช้ศีรษะเป็นส่วนนำ
กรณีศึกษา
1.Power
กรณีศึกษามีการหดรัดตัวของมดลูกที่ดี
-ระยะ Latent I 2' D 40''
-ระยะ Active I 2’ D 60”
จากการตรวจครรภ์ท่าที่ 3 Pawlik’s grip พบว่า ทารกมีการเคลื่อนต่ำลงไปกดช่องเชินกรานของมารดา ทำให้มารดารู้สึกอยากเบ่ง และมารดาสามารถเบ่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเจ็บครรภ์แต่ละครั้งมารดาสามารถเบ่งได้ 3 ครั้ง โดยเบ่งแบบคางชิดอก และรูทวารบาน หน้าไม่แดง เบ่งแต่ละครั้งนาน 8-10 วินาที มีการเบ่งคลอดได้ถูกต้อง
2.Passages
จากการตรวจครรภ์ท่าที่ 3 และ 4 พบว่า ทารกมีการ Engagement Pเวลา 03.50 น. PV
station 0
เส้น sargital suture อยู่ในแนว A-P diameter
3.Passenger
EST 3,150 gm ทารกอยู่ในท่า LOA ไม่มีความพิการแต่กำเนิด และทารกมี occiput เป็นส่วนนำ